สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

บทบาทสื่อมวลชนกับการปฏิรูปการเมือง

โดย ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ราชบัณฑิต เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า

การปฏิรูปประเทศเพื่อยุติวิกฤต ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความเข้มแข็งให้สังคมไทย
การปรับการบริหารภาครัฐทั้งระบบ

การปฏิรูปประเทศเพื่อยุติวิกฤต ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความเข้มแข็งให้สังคมไทย

การเพิ่มส่วนร่วมของพลเมืองในการเมืองทุกระดับ

กล่าวคือ ระดับหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด จนถึงระดับประเทศ โดยมีหน่วยงาน (อาทิ สำนักงานส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ฯลฯ) และทรัพยากร (งบประมาณ) เพื่อการดังกล่าว รวมทั้งการสร้างจิตสำนึกสาธารณะ (civic mind) โดยผ่านพลเมืองศึกษา (civic education) ทั้งนี้ โดยใช้ชุมชนท้องถิ่นและชุมชนอื่นเป็นตัวขับเคลื่อน อย่างไรก็ตาม จะต้องมีกติกาทางสังคมหรือกฎหมายให้ชัดเจนในการชุมนุมโดยสงบ เพื่อมิให้มีการละเมิดกฎหมายและเสรีภาพผู้อื่น ทั้งต้องมีเกณฑ์ในการสลายการชุมนุมที่ชัดเจนด้วย

การกำหนดให้การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญทุกครั้ง ต้องได้รับประชามติเห็นชอบจากประชาชน

ความขัดแย้งเชิงโครงสร้าง
โครงสร้างเศรษฐกิจและการจัดสรรผลประโยชน์เดิมในโครงสร้างการเมืองแบบใหม่
จุดแตกหัก
เราจะวิเคราะห์ความขัดแย้งนี้อย่างไร
การปฏิรูปประเทศไทย : ทางรอดที่เหลืออยู่
การปฏิรูประบบเศรษฐกิจเพื่อการจัดสรรผลประโยชน์ใหม่ในสังคม
การปฏิรูประบบการบริหารรัฐ
การได้มาซึ่ง ส.ส. ควรมีการปรับปรุง
ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ – ฝ่ายบริหาร – ศาล/องค์กรอิสระ
การเพิ่มส่วนร่วมของพลเมืองในการเมืองทุกระดับ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย