สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ

(International Labour Organization : ILO)

โดย อังคณา เตชะโกเมนท์
กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ
สำนักพัฒนามาตรฐานแรงงาน

       องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ILO (International Labour Organization) เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งสันนิบาตชาติ (The League of Nations) เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) ภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Treaty of Versailles) โดยมีประเทศไทยร่วมเป็นประเทศสมาชิกก่อตั้งด้วยวัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง ILO คือ ส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม และส่งเสริมให้สิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงานได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล จนกระทั่งสันนิบาตชาติได้ถูกยกเลิกไป และมีการจัดตั้งสหประชาชาติ (United Nations) ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ILO จึงกลายเป็นองค์การชำนัญพิเศษ (Specialized agency) ของสหประชาชาติ อันเป็นองค์กรหลักเพียงหนึ่งเดียวของสหประชาชาติที่รับผิดชอบดูแลประเด็นแรงงานของประเทศสมาชิก โดยขณะนี้ ILO มีประเทศสมาชิกจำนวน 181 ประเทศ (ข้อมูล ณ เดือนมกราคม 2551)

<script async src="//pagead2.googlesyndication.com/pagead/js/adsbygoogle.js"></script>
<!-- center_2559 -->
<ins class="adsbygoogle"
style="display:block"
data-ad-client="ca-pub-2716469986870548"
data-ad-slot="8796964454"
data-ad-format="auto"></ins>
<script>
(adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});
</script>

โครงสร้างของ ILO
หัวข้อมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศของ ILO
อนุสัญญา (Convention)
พิธีสาร (Protocol)
พันธกิจในฐานะประเทศสมาชิก

แหล่งข้อมูล

  • International Labour Office. Constitution of the International Labour Organization. Geneva, 2001.
  • International Labour Office. Handbook of Procedures relating to International Labour Conventions and Recommendations. Geneva, 1998.

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย