ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรุนเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของกาเย่

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม

ทฤษฎีการเรียนรู้

ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ มีสาระสรุปได้ดังนี้ (Lall and Lall, 1983:45-54)

พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น ดังนี้

  1. ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensori-Motor Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วยการกระทำ เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคำพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั้นนี้ มีความคิดความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือ และสายตา เด็กในวัยนี้มักจะทำอะไรซ้ำบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ พยายามแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก เมื่อสิ้นสุดระยะนี้เด็กจะมีการแสดงออกของพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมายและสามารถแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการแต่กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะสิ่งที่สามารถสัมผัสได้เท่านั้น
  2. ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Preoperational Stage) ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ
    -- ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่มมีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยวโยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจำกัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้องตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่พัฒนาเต็มที่ แต่พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก

    -- ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผลของเด็กยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก
  3. ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม (Concrete Operation Stage) ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้างกฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้ เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการแก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้ สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ โดยที่เด็กเข้าใจว่าของแข็งหรือของเหลวจำนวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยนรูปร่างไปก็ยังมีน้ำหนัก หรือปริมาตรเท่าเดิม สามารถที่จะเข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อย ส่วนรวม ลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจำของเด็กในช่วงนี้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่างสมบูรณ์ สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผู้อื่นได้ดี
  4. ขั้นปฏิบัติการคิดด้วยนามธรรม (Formal Operational Stage) นี้จะเริ่มจากอายุ 11-15 ปี ในขั้นนี้พัฒนาการทางสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้เป็นขั้นสุดยอด คือเด็กในวัยนี้จะเริ่มคิดแบบผู้ใหญ่ ความคิดแบบเด็กจะสิ้นสุดลง เด็กจะสามารถที่จะคิดหาเหตุผลนอกเหนือไปจากข้อมูลที่มีอยู่ สามารถที่จะคิดแบบนักวิทยาศาสตร์ สามารถที่จะตั้งสมมุติฐานและทฤษฎี และเห็นว่าความเป็นจริงที่เห็นด้วยการรับรู้ที่สำคัญเท่ากับความคิดกับสิ่งที่อาจจะเป็นไปได้ เด็กวัยนี้มีความคิดนอกเหนือไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สนใจที่จะสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับทุกสิ่งทุกอย่างและมีความพอใจที่จะคิดพิจารณาเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีตัวตน หรือสิ่งที่เป็นนามธรรมพัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สำคัญที่เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่

    1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น
    2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นนี้เด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่
    3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลายสุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
    4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้
    5. ขั้นรู้ผลของการกระทำ (Function) ในขั้นนี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
    6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทำให้ของสิ่งหนึ่งเปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิ่งหนึ่งอย่างทัดเทียมกัน

ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่

กระบวนการทางสติปัญญามีลักษณะดังนี้

  1. การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation) เป็นกระบวนการทางสมองในการรับประสบการณ์ เรื่องราว และข้อมูลต่าง ๆ เข้ามาสะสมเก็บไว้เพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป
  2. การปรับและจัดระบบ (accommodation) คือ กระบวนการทางสมองในการปรับประสบการณ์เดิมและประสบการณ์ใหม่ให้เข้ากันเป็นระบบหรือเครือข่ายทางปัญญาที่ตนสามารถเข้าใจได้ เกิดเป็นโครงสร้างทางปัญญาใหม่ขึ้น
  3. การเกิดความสมดุล (equilibration) เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นจากขั้นของการปรับ หากการปรับเป็นไปอย่างผสมผสานกลมกลืนก็จะก่อให้เกิดสภาพที่มีความสมดุลขึ้น หากบุคคลไม่สามารถปรับประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เดิมให้เข้ากันได้ ก็จะเกิดภาวะความไม่สมดุลขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางปัญญาขึ้นในตัวบุคคล

การนำไปใช้ในการจัดการศึกษา / การสอน

เมื่อทำงานกับนักเรียน ผู้สอนควรคำนึงถึงพัฒนาการทางสติปํญญาของนักเรียนดังต่อไปนี้

  • นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน ดังนั้นจึงไม่ควรเปรียบเทียบเด็ก ควรให้เด็กมีอิสระที่จะเรียนรู้และพัฒนาความสามารถของเขาไปตามระดับพัฒนาการของเขา นักเรียนแต่ละคนจะได้รับประสบการณ์ 2 แบบคือ
  • ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อมโดยตรง
    ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม
  • หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้คือ
    --เน้นพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนโดยต้องเน้นให้นักเรียนใช้ศักยภาพของตนเองให้มากที่สุด
    --เสนอการเรียนการเสนอที่ให้ผู้เรียนพบกับความแปลกใหม่
    --เน้นการเรียนรู้ต้องอาศัยกิจกรรมการค้นพบ
    --เน้นกิจกรรมการสำรวจและการเพิ่มขยายความคิดในระหว่างการเรียนการสอน
    --ใช้กิจกรรมขัดแย้ง (cognitive conflict activities) โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นนอกเหนือจากความคิดเห็นของตนเอง
  • การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียนควรดำเนินการดังต่อไปนี้
    --ถามคำถามมากกว่าการให้คำตอบ
    --ครูผู้สอนควรจะพูดให้น้อยลง และฟังให้มากขึ้น
    --ควรให้เสรีภาพแก่นักเรียนที่จะเลือกเรียนกิจกรรมต่าง ๆ
    --เมื่อนักเรียนให้เหตุผลผิด ควรถามคำถามหรือจัดประสบการณ์ให้นักเรียนใหม่ เพื่อนักเรียนจะได้แก้ไขข้อผิดพลาดด้วยตนเอง
    --ชี้ระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของนักเรียนจากงานพัฒนาการทางสติปัญญาขั้นนามธรรมหรือจากงานการอนุรักษ์ เพื่อดูว่านักเรียนคิดอย่างไร
    --ยอมรับความจริงที่ว่า นักเรียนแต่ละคนมีอัตราพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน
    --ผู้สอนต้องเข้าใจว่านักเรียนมีความสามารถเพิ่มขึ้นในระดับความคิดขั้นต่อไป
    --ตระหนักว่าการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นเพราะจดจำมากกว่าที่จะเข้าใจ เป็นการเรียนรู้ที่ไม่แท้จริง (pseudo learning)
  • ในขั้นประเมินผล ควรดำเนินการสอนต่อไปนี้
    --มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน
    --พยายามให้นักเรียนแสดงเหตุผลในการตอนคำถามนั้น ๆ
    --ต้องช่วยเหลือนักเรียนทีมีพัฒนาการทางสติปัญญาต่ำกว่าเพื่อร่วมชั้น

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย

🍁 เธŠเธฒเธฃเนŒเธฅเธชเนŒ เธ”เธฒเธฃเนŒเธงเธดเธ™
เธœเธนเน‰เธกเธตเธšเธ—เธšเธฒเธ—เธ™เธณเนƒเธซเน‰เน€เธเธดเธ”เธเธฒเธฃเธจเธถเธเธฉเธฒเธ„เน‰เธ™เธžเธšเธ—เธคเธฉเธŽเธตเธงเธดเธงเธฑเธ’เธ™เธฒเธเธฒเธฃเธกเธฒเธเธ—เธตเนˆเธชเธธเธ”เธ”เธฒเธฃเนŒเธงเธดเธ™เน€เธชเธ™เธญเธ„เธงเธฒเธฒเธกเธ„เธดเธ”เน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเธเธฒเธฃเธ„เธฑเธ”เน€เธฅเธทเธญเธเน‚เธ”เธขเธ˜เธฃเธฃเธกเธŠเธฒเธ•เธด

🍁 เธชเธ‡เธ„เธฃเธฒเธกเน‚เธฅเธเธ„เธฃเธฑเน‰เธ‡เธ—เธตเนˆ 1
เน€เธ›เน‡เธ™เธ„เธงเธฒเธกเธ‚เธฑเธ”เนเธขเน‰เธ‡เธฃเธฐเธ”เธฑเธšเน‚เธฅเธเธ—เธตเนˆเน€เธเธดเธ”เธฃเธฐเธซเธงเนˆเธฒเธ‡เธเนˆเธฒเธขเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เธกเธดเธ•เธฃ เนเธฅเธฐเธเนˆเธฒเธขเธกเธซเธฒเธญเธณเธ™เธฒเธˆเธเธฅเธฒเธ‡ เธ‹เธถเนˆเธ‡เน„เธกเนˆเน€เธ„เธขเธ›เธฃเธฒเธเธเธชเธ‡เธ„เธฃเธฒเธกเธ‚เธ™เธฒเธ”เนƒเธซเธเนˆเธ—เธตเนˆเธกเธตเธ—เธซเธฒเธฃเธซเธฃเธทเธญเธชเธกเธฃเธ เธนเธกเธดเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธ‚เน‰เธญเธ‡เธกเธฒเธเธ‚เธ™เธฒเธ”เธ™เธตเน‰เธกเธฒเธเนˆเธญเธ™

🍁 เธ›เธฃเธฐเธงเธฑเธ•เธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒเธŠเธ™เธŠเธฒเธ•เธดเธˆเธตเธ™
เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเธˆเธตเธ™เน€เธ›เน‡เธ™เธ›เธฃเธฐเน€เธ—เธจเธ—เธตเนˆเธกเธตเธ›เธฃเธฐเธŠเธฒเธเธฃเธกเธฒเธเธ—เธตเนˆเธชเธธเธ”เนƒเธ™เน‚เธฅเธ เธ„เธทเธญ 1,200 เธฅเน‰เธฒเธ™เธ„เธ™ เธ™เธฑเนˆเธ™เธซเธกเธฒเธขเธ„เธงเธฒเธกเธงเนˆเธฒ เธ›เธฃเธฐเธŠเธฒเธเธฃเธซเธ™เธถเนˆเธ‡เนƒเธ™เธซเน‰เธฒเธ‚เธญเธ‡เน‚เธฅเธเน€เธ›เน‡เธ™เธ›เธฃเธฐเธŠเธฒเธเธฃเธˆเธตเธ™

🍁 เธขเธญเธ”เธกเธ™เธธเธฉเธขเนŒ
เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธฃเธฒเธงเนเธฅเธฐเธŠเธตเธงเธดเธ•เธ‚เธญเธ‡เธžเธงเธเน€เธ‚เธฒ เธšเธฒเธ‡เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธ›เน‡เธ™เธ•เธณเธ™เธฒเธ™ เน€เธ›เน‡เธ™เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒ เน€เธ›เน‡เธ™เธ„เธงเธฒเธกเธˆเธฃเธดเธ‡ เธšเธฒเธ‡เธ„เธ™เน„เธฃเน‰เธ•เธฑเธงเธ•เธ™เธšเธฒเธ‡เธ„เธ™เธฅเน‰เธกเน€เธซเธฅเธง เธšเธฒเธ‡เธ„เธ™เน€เธ›เน‡เธ™เธ•เน‰เธ™เนเธšเธš เน€เธ›เน‡เธ™เธญเธฒเธŠเธเธฒเธเธฃ

🍁 เธฃเธžเธดเธ™เธ—เธฃเธ™เธฒเธ–เธเธฒเธเธนเธฃ
เธซเธขเธธเธ”เน€เธชเธตเธขเน€เธ–เธดเธ”เธเธฒเธฃเธชเธฒเธ˜เธขเธฒเธข เธเธฒเธฃเธ‚เธฑเธšเธ‚เธฒเธ™เนเธฅเธฐเธเธฒเธฃเธ™เธฑเนˆเธ‡เธ™เธฑเธšเธฅเธนเธเธ›เธฃเธฐเธ„เธณเธญเธฐเน„เธฃเน€เธซเธฅเนˆเธฒเธ™เธตเน‰ เธ—เนˆเธฒเธ™เธšเธนเธŠเธฒเธœเธนเน‰เนƒเธ”เธเธฑเธ™เนƒเธ™เธกเธธเธกเธชเธฅเธฑเธงเธฅเธฒเธ‡...เนเธฅเธฐเน€เธ›เธฅเนˆเธฒเน€เธ›เธฅเธตเนˆเธขเธงเธ‚เธญเธ‡เน€เธ—เธงเธฅเธฑเธขเธ—เธตเนˆเธซเธฑเธšเธšเธฒเธ™เธ›เธฃเธฐเธ•เธนเธซเธ™เน‰เธฒเธ•เนˆเธฒเธ‡เธกเธดเธ”เธŠเธดเธ”เธฃเธญเธšเธ”เน‰เธฒเธ™

🍁 เธชเธ‡เธ„เธฃเธฒเธกเธญเนˆเธฒเธงเน€เธ›เธญเธฃเนŒเน€เธ‹เธตเธข (Persian Gulf War)
เธชเธ‡เธ„เธฃเธฒเธกเธฃเธฐเธซเธงเนˆเธฒเธ‡เธญเธดเธฃเธฑเธ เธเธฑเธš เธญเธดเธซเธฃเนˆเธฒเธ™ เธซเธฃเธทเธญเธ—เธตเนˆเธ™เธดเธขเธกเน€เธฃเธตเธขเธเธงเนˆเธฒเธชเธ‡เธ„เธฃเธฒเธกเธญเนˆเธฒเธงเน€เธ›เธญเธฃเนŒเน€เธ‹เธตเธข (Persian Gulf War) เธ™เธฑเน‰เธ™เน„เธ”เน‰เน€เธฃเธดเนˆเธกเธ‚เธถเน‰เธ™เน€เธกเธทเนˆเธญเธงเธฑเธ™เธ—เธตเนˆ 22 เธเธฑเธ™เธขเธฒเธขเธ™ เธ„.เธจ.1980 เน‚เธ”เธขเธกเธตเธชเธฒเน€เธซเธ•เธธเธกเธฒเธˆเธฒเธเธ„เธงเธฒเธกเธ‚เธฑเธ”เนเธขเน‰เธ‡เธญเธขเธนเนˆเธซเธฅเธฒเธขเธ›เธฃเธฐเธเธฒเธฃ

🍁 เนเธกเนˆเน„เธกเน‰เธกเธงเธขเน„เธ—เธข
เธเธฒเธฃเน€เธฅเนˆเธ™เธžเธทเน‰เธ™เธšเน‰เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเธกเธตเธ„เธธเธ“เธฅเธฑเธเธฉเธ“เธฐเธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธ•เนˆเธญเธชเธนเน‰เธ›เน‰เธญเธ‡เธเธฑเธ™เธ•เธฑเธงเธ”เน‰เธงเธขเธเธฒเธฃเนƒเธŠเน‰เธญเธงเธฑเธขเธงเธฐเนƒเธ™เธชเนˆเธงเธ™เธ—เธตเนˆเธชเธฒเธกเธฒเธฃเธ–เนƒเธŠเน‰เธ—เธณเธญเธฑเธ™เธ•เธฃเธฒเธขเธ„เธนเนˆเธ•เนˆเธญเธชเธนเน‰เน„เธ”เน‰เธกเธฒเนƒเธŠเน‰เธ‡เธฒเธ™เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เธŠเธฒเธเธ‰เธฅเธฒเธ” เนเธฅเธฐเธกเธตเธจเธดเธฅเธ›เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เธชเธนเธ‡

🍁 เธ›เธฃเธฐเธงเธฑเธ•เธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒเธจเธดเธฅเธ›เนŒ
เธงเธดเธงเธฑเธ’เธ™เธฒเธเธฒเธฃเธ‚เธญเธ‡เธ›เธฃเธฐเธงเธฑเธ•เธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒเธจเธดเธฅเธ›เนŒเนเธฅเธฐเธเธฒเธฃเธญเธญเธเนเธšเธšเธจเธดเธฅเธ›เธฐเน€เธ„เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธ›เธฃเธฐเธ”เธฑเธšเธ•เธฐเธงเธฑเธ™เธ•เธเธ•เธฑเน‰เธ‡เนเธ•เนˆเธญเธ”เธตเธ•เธˆเธ™เธ–เธถเธ‡เธ›เธฑเธˆเธˆเธธเธšเธฑเธ™ เธ—เธตเนˆเธ„เน‰เธ™เธžเธšเนƒเธ™เนเธ•เนˆเธฅเธฐเธŠเนˆเธงเธ‡เธชเธกเธฑเธข เนเธฅเธฐเธชเนˆเธงเธ™เนƒเธซเธเนˆเธกเธตเนเธฃเธ‡เธšเธฑเธ™เธ”เธฒเธฅเนƒเธˆเธกเธฒเธˆเธฒเธเธเธฒเธฃเธฃเธนเน‰เธˆเธฑเธเธ˜เธฃเธฃเธกเธŠเธฒเธ•เธด

🍁 เธฃเธญเธขเธ•เนˆเธญเธžเธฑเธ’เธ™เธฒเธเธฒเธฃ
เธซเธ™เธถเนˆเธ‡เนƒเธ™เธกเน‚เธ™เธ—เธฑเธจเธ™เนŒเธ‚เธญเธ‡ เน€เธฅเธŸ เน€เธ‹เน€เธกเน‚เธ™เธงเธดเธŠ เน„เธงเธเน‡เธญเธ•เธชเธเธตเน‰ เธ—เธตเนˆเธกเธตเธŠเธทเนˆเธญเน€เธชเธตเธขเธ‡เน€เธ›เน‡เธ™เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เธกเธฒเธ เธ‹เธถเนˆเธ‡เธญเธ˜เธดเธšเธฒเธขเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒเธฃเธฐเธซเธงเนˆเธฒเธ‡เธเธฒเธฃเน€เธฃเธตเธขเธ™เธฃเธนเน‰เนเธฅเธฐเธžเธฑเธ’เธ™เธฒเธเธฒเธฃ เนเธฅเธฐเน€เธ›เน‡เธ™เธ—เธตเนˆเธฃเธนเน‰เธˆเธฑเธเน€เธ›เน‡เธ™เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เธ”เธตเนƒเธ™เธงเธ‡เธเธฒเธฃเธเธฒเธฃเธจเธถเธเธฉเธฒเธ‚เธญเธ‡เน€เธ”เน‡เธเธ›เธเธกเธงเธฑเธขเนเธฅเธฐเธžเธฑเธ’เธ™เธฒเธเธฒเธฃเน€เธ”เน‡เธ

🍁 เธ—เธคเธฉเธŽเธตเธเธฒเธฃเธ”เธนเนเธฅเธ‚เธญเธ‡เธงเธฑเธ•เธชเธฑเธ™
เน€เธ›เน‡เธ™เธ—เธฑเน‰เธ‡เธ›เธฃเธฑเธŠเธเธฒเนเธฅเธฐเธ—เธคเธฉเธเธตเธ—เธฒเธ‡เธเธฒเธฃเธžเธขเธฒเธšเธฒเธฅ เธ—เธตเนˆเธกเธตเธˆเธธเธ”เน€เธ™เน‰เธ™เธ—เธตเนˆเธเธฒเธฃเธ”เธนเนเธฅ เธ‹เธถเนˆเธ‡เธžเธฑเธ’เธ™เธฒเธกเธฒเธ•เธฑเน‰เธ‡เนเธ•เนˆเธ›เธต เธ„.เธจ.1979 เธ เธฒเธขเนƒเธ•เน‰เธญเธดเธ—เธ˜เธดเธžเธฅเธ—เธฒเธ‡เธ”เน‰เธฒเธ™เธกเธฒเธ™เธธเธฉเธขเธงเธดเธ—เธขเธฒ เธฃเธงเธกเธ—เธฑเน‰เธ‡เธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰เธชเธถเธเธœเธนเธเธžเธฑเธ™เธ•เนˆเธญเธšเธ—เธšเธฒเธ—เธเธฒเธฃเธ”เธนเนเธฅเน€เธžเธทเนˆเธญเธเธฒเธฃเธŸเธทเน‰เธ™เธซเธฒเธขเธ‚เธญเธ‡เธœเธนเน‰เธ›เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆเธงเธฑเธ•เธชเธฑเธ™เธ›เธฃเธฐเธˆเธฑเธเธฉเนŒเธ”เน‰เธงเธขเธ•เธฑเธงเน€เธญเธ‡

🍁 เธ›เธฑเธเธเธฒเธ›เธฃเธฐเธ”เธดเธฉเธเนŒ
เธ›เธฑเธเธเธฒเธ›เธฃเธฐเธ”เธดเธฉเธเนŒ (Artificial Intelligence) เธซเธฃเธทเธญ เน€เธญเน„เธญ (AI) เธซเธกเธฒเธขเธ–เธถเธ‡ เธ„เธงเธฒเธกเธ‰เธฅเธฒเธ”เน€เธ—เธตเธขเธกเธ—เธตเนˆเธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เธ‚เธถเน‰เธ™เนƒเธซเน‰เธเธฑเธšเธชเธดเนˆเธ‡เธ—เธตเนˆเน„เธกเนˆเธกเธตเธŠเธตเธงเธดเธ•เน€เธ›เน‡เธ™เธชเธฒเธ‚เธฒเธซเธ™เธถเนˆเธ‡เนƒเธ™เธ”เน‰เธฒเธ™เธงเธดเธ—เธขเธฒเธเธฒเธฃเธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒ เนเธฅเธฐเธงเธดเธจเธงเธเธฃเธฃเธกเน€เธ›เน‡เธ™เธซเธฅเธฑเธ

🍁 เธกเธฑเธ—เธ™เธฐเธžเธฒเธ˜เธฒ
เธšเธ—เธฅเธฐเธ„เธฃเน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธกเธฑเธ—เธ™เธฐเธžเธฒเธ˜เธฒเน„เธ”เน‰เธฃเธฑเธšเธเธฒเธฃเธขเธเธขเนˆเธญเธ‡เธˆเธฒเธเธงเธฃเธฃเธ“เธ„เธ”เธตเธชเน‚เธกเธชเธฃเธ›เธฃเธฐเธเธฒเธจเธขเธเธขเนˆเธญเธ‡เนƒเธซเน‰เน€เธ›เน‡เธ™เธซเธ™เธฑเธ‡เธชเธทเธญเธ—เธตเนˆเนเธ•เนˆเธ‡เธ”เธตเนƒเธŠเน‰เธ„เธณเธ‰เธฑเธ™เธ—เนŒเน€เธ›เน‡เธ™เธšเธ—เธฅเธฐเธ„เธฃเธžเธนเธ” เธ—เธตเนˆเธกเธตเธ•เธฑเธงเธฅเธฐเธ„เธฃเนเธฅเธฐเธ‰เธฒเธเธชเธญเธ”เธ„เธฅเน‰เธญเธ‡เธเธฑเธšเธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธ เธฒเธฃเธ•เธฐเน‚เธšเธฃเธฒเธ“

🍁 เธ„เธนเนˆเธกเธทเธญเธžเธฃเธฐเธชเธฑเธ‡เธ†เธฒเธ˜เธดเธเธฒเธฃ
เธชเนˆเธงเธ™เธซเธ™เธถเนˆเธ‡เธ‚เธญเธ‡เธซเธฅเธฑเธเธชเธนเธ•เธฃเธ–เธงเธฒเธขเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰ เนเธ”เนˆเธžเธฃเธฐเธชเธฑเธ‡เธ†เธฒเธ˜เธดเธเธฒเธฃ เธซเธกเธงเธ”เธงเธดเธŠเธฒเธžเธทเน‰เธ™เธเธฒเธ™เธ—เธฑเนˆเธงเน„เธ› เธ‹เธถเนˆเธ‡เธžเธฃเธฐเธชเธฑเธ‡เธ†เธฒเธ˜เธดเธเธฒเธฃเธˆเธณเน€เธ›เน‡เธ™เธˆเธฐเธ•เน‰เธญเธ‡เธฃเธฑเธšเธ—เธฃเธฒเธš เนเธฅเธฐเธ–เธทเธญเธ›เธเธดเธšเธฑเธ•เธดเน€เธžเธทเนˆเธญเน€เธ›เน‡เธ™เนเธ™เธงเธ—เธฒเธ‡ เนƒเธ™เธเธฒเธฃเธšเธฃเธดเธซเธฒเธฃเธเธฒเธฃเธ›เธเธ„เธฃเธญเธ‡เธงเธฑเธ”

🍁 เธซเธธเนˆเธ™เธขเธ™เธ•เนŒ
เธซเธธเนˆเธ™เธขเธ™เธ•เนŒเธกเธตเธ„เธงเธฒเธกเนเธ•เธเธ•เนˆเธฒเธ‡เธˆเธฒเธเน€เธ„เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธˆเธฑเธเธฃเธเธฅเนเธšเธšเธญเธทเนˆเธ™ เน† เธ•เธฃเธ‡เธ—เธตเนˆเธกเธฑเธ™เธชเธฒเธกเธฒเธฃเธ–เน€เธ„เธฅเธทเนˆเธญเธ™เน„เธซเธงเน‚เธ„เธฃเธ‡เธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เน„เธ”เน‰ เธซเธธเนˆเธ™เธขเธ™เธ•เนŒเนเธ•เธเธ•เนˆเธฒเธ‡เธˆเธฒเธเธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒเธ•เธฃเธ‡เธ—เธตเนˆเธกเธฑเธ™เธชเธฒเธกเธฒเธฃเธ–เธ™เธณเธœเธฅเธ—เธตเนˆเน„เธ”เน‰เธˆเธฒเธเธเธฒเธฃเธ›เธฃเธฐเธกเธงเธฅเธกเธฒ เธ›เธเธดเธšเธฑเธ•เธดเนƒเธซเน‰เน€เธเธดเธ”เธ‡เธฒเธ™เนƒเธ™เธ—เธฒเธ‡เธเธฒเธขเธ เธฒเธžเน„เธ”เน‰เธ‚เธ“เธฐเธ—เธตเนˆเธ„เธญเธกเธžเธดเธงเน€เธ•เธญเธฃเนŒเน„เธกเนˆเธกเธต

🍁 เธ‚เน‰เธญเธ„เธดเธ”เธˆเธฒเธเธ™เธดเธ—เธฒเธ™เน„เธ—เธข
เธ™เธดเธ—เธฒเธ™เน€เธ›เน‡เธ™เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เน€เธฅเนˆเธฒเธ—เธตเนˆเธชเธทเธšเธ—เธญเธ”เธกเธฒเนเธ•เนˆเน‚เธšเธฃเธฒเธ“ เธˆเธถเธ‡เน€เธ›เน‡เธ™เธˆเธธเธ”เน€เธฃเธดเนˆเธกเธ•เน‰เธ™เธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเธžเธฒเน€เธ”เน‡เธเนเธฅเธฐเน€เธขเธฒเธงเธŠเธ™เน„เธ›เธชเธนเนˆเน‚เธฅเธเธเธงเน‰เธฒเธ‡เธ‚เธญเธ‡เธเธฒเธฃเน€เธฃเธตเธขเธ™เธฃเธนเน‰เธŠเธตเธงเธดเธ•เธˆเธฃเธดเธ‡

🐍 เน‚เธ›เธฃเธ”เธฃเธฐเธงเธฑเธ‡เธ‡เธนเธ‰เธ

เธกเธ™เธธเธฉเธขเนŒเธเน‡เน€เธซเธกเธทเธญเธ™เธชเธชเธฒเธฃเธŠเธ™เธดเธ”เธซเธ™เธถเนˆเธ‡
เธ—เธตเนˆเธฃเธญเธงเธฑเธ™เธฃเนˆเธงเธ‡เน‚เธฃเธขเนเธ•เธเธ”เธฑเธš

เธญเธขเธนเนˆเน„เธ›เธ™เธฒเธ™เธงเธฑเธ™เน€เธ‚เน‰เธฒเธเน‡เน€เธฃเธดเนˆเธกเธชเธนเธเน€เธชเธตเธขเธ„เธงเธฒเธกเธชเธกเธ”เธธเธฅ
เธฃเธฐเธšเธšเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญเธ‡เธฃเนˆเธฒเธขเธเธฒเธขเธเน‡เธŠเน‰เธฒเธฅเธ‡เน„เธ›เน€เธฃเธทเนˆเธญเธขเน†

เธซเธฅเธตเธเธซเธ™เธตเน„เธกเนˆเธžเน‰เธ™เธ„เธงเธฒเธกเธ•เธฒเธขเนƒเธ™เธ—เธตเนˆเธชเธธเธ”

เธฃเนˆเธฒเธ‡เธเธฒเธขเน€เธ™เนˆเธฒเน€เธ›เธทเนˆเธญเธขเธœเธธเธœเธฑเธ‡
เน„เธกเนˆเน€เธ—เธตเนˆเธขเธ‡เนเธ—เน‰เนเธ™เนˆเธ™เธญเธ™
เน„เธกเนˆเธกเธฑเนˆเธ™เธ„เธ‡เธขเธฑเนˆเธ‡เธขเธทเธ™
เธเธฅเธฑเธšเธ„เธทเธ™เธชเธ เธฒเธžเน€เธ”เธดเธกเน„เธ”เน‰เธขเธฒเธ

เธˆเธฒเธเธ˜เธฃเธฃเธกเธŠเธฒเธ•เธดเธชเธนเนˆเธ˜เธฃเธฃเธกเธŠเธฒเธ•เธด
เธ—เธฑเน‰เธ‡เนƒเธ™เธชเธ–เธฒเธ™เธฐเธ‚เธญเธ‡เนเธ‚เน‡เธ‡เธ‚เธญเธ‡เน€เธซเธฅเธงเนเธฅเธฐเธเนŠเธฒเธ‹

เธกเธฑเธ™เน€เธ›เน‡เธ™เธญเธ™เธดเธˆเธˆเธฑเธ‡

เธฃเธนเน‰เนเธฅเน‰เธงเน€เธซเธขเธตเธขเธšเน„เธงเน‰
เธญเธขเนˆเธฒเน„เธ”เน‰เธ—เธณเน€เธ›เน‡เธ™เธ•เธทเนˆเธ™เธ•เธนเธก.

🐍 เธ‡เธนเน€เธ‚เธตเธขเธง เธซเธฒเธ‡เธšเธญเธšเธŠเน‰เธณ : เน€เธ‚เธตเธขเธ™

เน€เธŠเธดเธเนเธงเธฐเธญเนˆเธฒเธ™เธชเธฑเธเธ™เธดเธ”เธชเธฑเธเธซเธ™เนˆเธญเธขเธเน‡เธขเธฑเธ‡เธ”เธต...

🌿 เธ„เธงเธฒเธกเธ—เธฃเธ‡เธˆเธณเธ—เธตเนˆเน€เธจเธฃเน‰เธฒเธซเธกเธญเธ‡
เธˆเธญเธกเธขเธธเธ—เธ˜ : เธเธฃเธตเธ”เธชเธฒเธข
เธเธฑเธšเธ„เธงเธฒเธกเธญเธฒเธ”เธนเธฃเธ—เธตเนˆเธชเธนเธเธชเธดเน‰เธ™ เธšเธฒเธ‡เธชเธดเนˆเธ‡เธšเธฒเธ‡เธญเธขเนˆเธฒเธ‡เน„เธกเนˆเธญเธฒเธˆเธซเธงเธ™เธ„เธทเธ™ เนƒเธ„เธฃเธ„เธ™เธซเธ™เธถเนˆเธ‡เน€เธเน‡เธšเธ•เธฑเธงเน€เธ‡เธตเธขเธšเน€เธซเธกเธทเธญเธ™เธชเธฑเธ•เธงเนŒเธ›เนˆเธฒเธซเธฒเธขเธฒเธ

🌿 เธ•เธตเธซเธฑเธงเน€เธ‚เน‰เธฒเธšเน‰เธฒเธ™ เธ•เธฐเธ„เธญเธเน‚เธฅเธ เธ•เธตเธซเธฑเธงเธซเธกเธฒ
เธ‚เธญเธฃเนˆเธงเธกเนเธชเธ”เธ‡เธขเธดเธ™เธ”เธตเนเธ”เนˆเธกเธงเธฅเธกเธ™เธธเธฉเธขเนŒเธŠเธฒเธ•เธด เธ—เธตเนˆเน„เธ”เน‰เธชเนˆเธ‡เธ•เธฑเธงเนเธ—เธ™เนƒเธ™เธ™เธฒเธกเธ‚เธญเธ‡เธซเธธเนˆเธ™เธขเธ™เธ•เนŒ เน„เธ›เน€เธซเธขเธตเธขเธšเธ”เธฒเธงเธญเธฑเธ‡เธ„เธฒเธฃเน„เธ”เน‰เน€เธ›เน‡เธ™เธœเธฅเธชเธณเน€เธฃเน‡เธˆ เธญเธตเธเธ„เธฃเธฑเน‰เธ‡เธ—เธตเนˆเธเธดเน€เธฅเธชเธกเธ™เธธเธฉเธขเนŒเน„เธ”เน‰เนเธชเธ”เธ‡เธžเธฅเธฑเธ‡เธญเธณเธ™เธฒเธˆเนƒเธซเน‰เธ›เธฃเธฐเธˆเธฑเธเธฉเนŒเนเธ•เนˆเธชเธฒเธขเธ•เธฒเธ›เธฃเธฐเธ”เธฒเธชเธฑเธ•เธงเนŒเน†

🌿 เธœเธฒเธขเธฅเธกเธ™เธตเน‰เธกเธตเธœเธฅเธขเน‰เธญเธ™เธซเธฅเธฑเธ‡
เธ เธฒเธฉเธฒเธ—เธตเนˆเน„เธกเนˆเธ„เธธเน‰เธ™เน€เธ„เธข เธœเธนเน‰เธ„เธ™เนเธ›เธฅเธเธซเธ™เน‰เธฒ เธ‚เน‰เธฒเธงเธเธฅเนˆเธญเธ‡ เธ”เธดเธ™เน€เธ™เธญเธฃเนŒเนƒเธ•เน‰เนเธชเธ‡เธˆเธฑเธ™เธ—เธฃเนŒ เธ“ เธฅเธฒเธ™เธญเธ™เธธเธชเธฒเธงเธฃเธตเธขเนŒเธชเธฒเธกเธเธฉเธฑเธ•เธฃเธดเธขเนŒ เธŠเธตเธงเธดเธ•เนƒเธซเธกเนˆ เน€เธŠเธตเธขเธ‡เนƒเธซเธกเนˆเน† เธญเธตเธเธซเธ™เธถเนˆเธ‡เธขเธญเธ”เน€เธ‚เธฒเธ—เธตเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธ›เนˆเธฒเธขเธ›เธตเธ™ เนเธกเน‰เธชเธดเนˆเธ‡เธ—เธตเนˆเน€เธฃเธตเธขเธเธงเนˆเธฒเธ„เธงเธฒเธกเธ•เธฒเธขเธˆเธฐเธฃเธญเธญเธขเธนเนˆเธเนˆเธญเธ™เนเธฅเน‰เธงเธเน‡เธ•เธฒเธก

🌿 เน„เธ”เน‰เนเธ•เนˆเธซเธงเธฑเธ‡เธงเนˆเธฒ เน€เธฃเธฒเธˆเธฐเธญเธขเธนเนˆเธฃเนˆเธงเธกเธเธฑเธ™เน„เธ”เน‰เธšเธ™เน‚เธฅเธเธ—เธตเนˆเน€เธ›เธฃเธตเธขเธšเน€เธชเธกเธทเธญเธ™เธšเน‰เธฒเธ™เธ‚เธญเธ‡เน€เธฃเธฒเนƒเธšเธ™เธตเน‰ เธ”เน‰เธงเธขเธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰เธชเธถเธเธ—เธตเนˆเธ”เธตเธ›เธฃเธฐเธ”เธธเธˆเธ”เธฑเนˆเธ‡เธเธดเธ™เธ‚เน‰เธฒเธงเธˆเธฒเธเธซเธกเน‰เธญเน€เธ”เธตเธขเธงเธเธฑเธ™
เน€เธžเน‰เธญเธžเธฃเนˆเธณ เธฃเธณเธžเธฑเธ™ เน‚เธ”เธข : เธˆเธญเธกเธขเธธเธ—เธ˜ เนเธซเนˆเธ‡เธšเน‰เธฒเธ™เธˆเธญเธกเธขเธธเธ—เธ˜

เธขเธฑเธ‡เธกเธตเธญเธตเธ »


เธŠเธตเธงเธดเธ•เน€เธฃเธดเนˆเธกเธ•เน‰เธ™เธญเธตเธเธ„เธฃเธฑเน‰เธ‡เธซเธฅเธฑเธ‡เน€เธเธฉเธตเธขเธ“
เธ เธนเธˆเธญเธกเธขเธธเธ—เธ˜ | Podcast

เธŠเธตเธงเธดเธ•เนƒเธ™เนเธšเธšเธ‰เธšเธฑเธšเธ‚เธญเธ‡เธ•เธฑเธงเน€เธญเธ‡ เธซเธดเธงเธเน‡เธเธดเธ™เธ‡เนˆเธงเธ‡เธเน‡เธ™เธญเธ™ เธญเธขเธฒเธเธ—เธณเธญเธฐเน„เธฃเธเน‡เธ—เธณ เน€เธšเธตเธขเธ”เน€เธšเธตเธขเธ™เธชเธ เธฒเธžเนเธงเธ”เธฅเน‰เธญเธกเนเธ•เนˆเธžเธญเธ‡เธฒเธก เธ›เธฃเธฐเธชเธšเธเธฒเธฃเธ“เนŒเนเธšเนˆเธ‡เธ›เธฑเธ™เธœเธนเน‰เธ„เธ™ เธกเธฒเธเธšเน‰เธฒเธ‡เธ™เน‰เธญเธขเธšเน‰เธฒเธ‡ เธงเธฑเธ”เธเธฑเธšเธฃเน‰เธฒเธ™เน€เธซเธฅเน‰เธฒเธ–เธทเธญเน€เธ›เน‡เธ™เธชเธ–เธฒเธ™เธญเน‚เธ„เธˆเธฃ เธ—เธตเนˆเธ•เน‰เธญเธ‡เธฃเธฑเธเธฉเธฒเธฃเธฐเธขเธฐเธซเนˆเธฒเธ‡ เธ„เธฅเธดเธเธ”เธน👆