ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

เล่มที่ ๑๒

ชื่อมัชนิกาย มูลปัณณาสก์ เป็นสุตตันตะปิฎกเล่มที่ ๔

๑๒ ชื่อมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(เป็นสุตตันตปิฎก)

๓๗ . จูฬตัณหาสังขยสูตร สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก

๑. พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ปราสาทของนางวิสาขาในบุพพาราม ใกล้กรุงสาวัตถี. ท้าวสักกะมาเฝ้ากราบทูลถามว่า กล่าวโดยย่อด้วยเหตุเพียงเท่าไร ภิกษุชื่อว่าพ้นเพราะสิ้นตัญหา มีความสำเร็จ , ปลอดโปร่งจากธรรมะที่ผูดมัด , เป็นพรหมจารี, มีที่สุดล่วงส่วน ( คือแน่นอนเด็ดขาด ) เป็นผู้ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย.

๒. ตรัสตอบว่า ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ ย่อมได้สดับว่า ธรรมทั้งปวงไม่ควรยึดถือ เธอจักรู้ยิ่ง, กำหนดรู้ธรรมะทั้งปวง เธอเสวยเวทนาใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นสุข ทุกข์ หรือไม่ทุกข์ไม่สุข ก็พิจารณาเห็นความไม่เที่ยง พิจารณาเห็นด้วยวามคลายกำหนัด พิจารณาเห็นความดับ พิจารณาเห็นด้วยการปล่อยวางในเวทนาเหล่านั้น ไม่ถือมั่นสิ่งใด ๆ ในโลก เมื่อไม่ถือมั่นก็ไม่สะดุ้งดิ้นรน เมื่อไม่สะดุ้งดิ้นรนก็ดับเย็น ( ปรินิพพาน ) เฉพาะตน รู้ว่าสิ้นชาติ อยู่จนจบพรหมจรรย์ ทำหน้าที่เสร็จแล้ว ไม่มีกิจอื่นที่จะพึงทำเพื่อความเป็นอย่างนี้อีก ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ ภิกษุชื่อว่าพ้นเพราะสิ้นตัณหา ฯลฯ ประเสริฐกว่าเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย . ท้าวสักกะก็ชื่นชมภาษิต และกราบทูลลากลับ.

๓. พระมหาโมคคัลลานะไปปรากฏกายในชั้นดาวดึงส์ ท้าวสักกะก็ต้อนรับเป็นอย่างดี เมื่อท่านถามถึงคำเฉลยปัญหาที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ย่อ ๆ เกี่ยวกับความหลุดพ้นเพราะสิ้นตัณหา ท้าวสักกะกลับพูดเลี่ยงไปเรื่องอื่น และชวนพระมหาโมคคัลลานะไปชมปราสาทชื่อเวชยันต์ ซึ่งสร้างขึ้นภายหลังชนะสงครามระหว่างเทวดากับอสูรอย่างวิจิตพิสดาร. พระมหาโมคคัลลานะเห็นท้าวสักกะเป็นผู้ประมาท ก็แสดงฤทธิ์เอาหัวแม่เท้าเขี่ยปราสาทเวชยันต์ให้หวั่นไหว ซึ่งทำให้ท้าวสักกะ ท้าวเวสสวัณ และเทพชั้นดาวดึงส์ พากันอัศจรรย์ในฤทธิ์อานุภาพของพระเถระเป็นอันมาก.

๔. เมื่อพระเถระเห็นเช่นนั้น จึงถามย้ำอีกถึงพระดำรัสเฉลยปัญหาเรื่องความหลุดพ้นเพราะสิ้นตัณหาของพระผู้มีพระภาค .

คราวนี้ท้าวสักกะเล่าถวายเป็นอันดี. พระเถระจึงลากลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคกราบทูลถามเรื่องการที่ทรงตอบปัญหานั้น ซึ่งก็ตรัสเล่าความให้ฟังตรงกัน.

<< ย้อนกลับ || หน้าถัดไป >>

- สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
- สูตรว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด
- สูตรว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม
- สูตรว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่กลัว
- สูตรว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส
- สูตรว่าด้วยความหวังของภิกษุ
- สูตรอุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี
- สูตรว่าด้วยการขัดเกลากิเลส
- สูตรว่าด้วยความเห็นชอบ
- สูตรว่าด้วยการตั้งสติ ๔ ประการ
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรเล็ก
- อนุมานสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- เจโตขีลสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- สูตรว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ
- สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
- สูตรว่าด้วยความตรึกสองทาง
- สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด
- สูตรว่าด้วยเปรียบด้วยเลื่อย
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรถ ๗ ผลัด
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาละ
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวเมืองเวรัญชา
- สูตรว่าด้วยมหาเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยการสมาทานธรรมะ
- สูตรว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณาสอบสวน
- สูตรว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี
- สูตรว่าด้วยการเชื่อเชิญของพรหม
- สูตรว่าด้วยมารถูกคุกคาม


» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย