ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

เล่มที่ ๑๒

ชื่อมัชนิกาย มูลปัณณาสก์ เป็นสุตตันตะปิฎกเล่มที่ ๔

๑๒ ชื่อมัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์(เป็นสุตตันตปิฎก)

๒๐ . วิตักกสัณฐานสูตร สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด

พระผู้มีพระภาคประทับ ณ เชตวนาราม ตรัสสอนว่า ภิกษุผู้ทำสมาธิ ( ประกอบอธิจิต ) พึงใส่ใจเครื่องหมาย ๕ ประกอบอยู่เสมอ คือ?-

๑. เมื่อใส่ใจถึงเครื่องหมายใด เกิดความคิดฝ่ายชั่ว. ขึ้น ให้เปลี่ยนเครื่องหมายนั้น ไปสู่เครื่องหมายอื่นอันประกอบด้วยกุศล ซึ่งจะเป็นเหตุให้คิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นสมาธิได้.

เปรียบเหมือนเหมือนนายช่าง เอาลิ่มเนื้อละเอียดมาตอกเอาลิ่มเนื้อหยาบออกไปฉะนั้น.

๒. เมื่อใส่ใจถึงเครื่องหมายอื่น อันประกอบด้วยกุศล ความคิดฝ่ายชั่วยังเกิดขึ้น ก็พึงพิจารณาโทษของความคิดฝ่ายชั่ว ก็จะละความคิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นมาธิได้.

เปรียบเหมือนชายหนุ่มหญิงสาวที่รักสวยรักงาม รักเกียจซากศพสัตว์ต่าง ๆ ที่มาคล้องอยู่ที่คอฉะนั้น.

๓. เมื่อพิจารณาโทษของความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ความคิดฝ่ายยังเกิดขึ้น ก็พึงไม่ระลึกไม่ใส่ใจความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ก็จะละความคิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นสมาธิได้.

เปรียบเหมือนคนตาดี ไม่ต้องการเห็นรูป ก็หลับตาเสีย หรือมองไปทางอื่น.

๔. เมื่อไม่ระลึก ไม่ใส่ใจความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ความคิดฝ่ายชั่วยังเกิดขึ้น ก็พึงใส่ใจถึงที่ตั้งแห่งเหตุของความคิด ( วิตักกสังขารสัณฐานะ คือให้ดูอะไรเป็นเหตุให้ความคิดฝ่ายชั่วเกิดขึ้น ) ก็จะละความคิดฝ่ายชั่ว ทำจิตให้เป็นสมาธิได้ .

เปรียบเหมือนคนเดินเร็ว เดินช้าลง หยุด ยืน นั่ง นอน สละอิริยาบถหยาบ ๆ ลง สำเร็จอิริยาบถละเอียดขึ้น.

๕. เมื่อใส่ใจถึงที่ตั้งแห่งเหตุของความคิดฝ่ายชั่วเหล่านั้น ความคิดฝ่ายชั่วยังเกิดขึ้น ก็พึงเอาฟันกดฟัน เอาลิ้นกดเพดาน ข่มขี่บีบคั้นจิต.

 เปรียบเหมือนคนมีกำลังกว่า จับคอคนมีกำลังน้อยกว่า ข่มขี่บีบคั้นฉะนั้น.

สรุป

เมื่อทำได้อย่างนั้น ภิกษุนี้ชื่อว่าชำนาญในทางที่เกี่ยวกับความคิด ( วิตก ความตรึก ) ประสงค์จะคิดเรื่องอะไร ก็คิดได้ ไม่ประสงค์จะคิดอะไร ก็ไม่คิดได้ นับว่าตัดตัญหาได้ คลายเครื่องรัดได้ ทำความทุกข์ให้ถึงที่สุดได้ ด้วยการตรัสรู้เรื่องจิตใจโดยชอบ.

จบวรรคที่ ๒ ขึ้นวรรที่ ๔ ชื่อโอปัมมวรรค คือวรรคที่กล่าวถึงข้ออุปมา มี ๑๐ สูตร.

<< ย้อนกลับ || หน้าถัดไป >>

- สูตรว่าด้วยเรื่องราวอันเป็นมูลแห่งธรรมทั้งปวง
- สูตรว่าด้วยการสำรวมระวังอาสวะทุกชนิด
- สูตรว่าด้วยผู้รับมรดกธรรม
- สูตรว่าด้วยความกลัวและสิ่งที่กลัว
- สูตรว่าด้วยบุคคลผู้ไม่มีกิเลส
- สูตรว่าด้วยความหวังของภิกษุ
- สูตรอุปมาด้วยผ้าที่ย้อมสี
- สูตรว่าด้วยการขัดเกลากิเลส
- สูตรว่าด้วยความเห็นชอบ
- สูตรว่าด้วยการตั้งสติ ๔ ประการ
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทเล็ก
- สูตรว่าด้วยการบรรลือสีหนาทใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยกองทุกข์ สูตรเล็ก
- อนุมานสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- เจโตขีลสูตร สูตรว่าด้วยการอนุมาน
- สูตรว่าด้วยการอยู่ป่าของภิกษุ
- สูตรว่าด้วยธรรมะที่น่าพอใจเหมือนขนมหวาน
- สูตรว่าด้วยความตรึกสองทาง
- สูตรว่าด้วยที่ตั้งของความตรึกหรือความคิด
- สูตรว่าด้วยเปรียบด้วยเลื่อย
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยงูพิษ
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยจอมปลวก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรถ ๗ ผลัด
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยเหยื่อหรืออาหารสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยบ่วงดักสัตว์
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรเล็ก
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยรอยเท้าช้าง สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยแก่นไม้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยป่าไม้สาละชื่อโคสิงคะ สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรใหญ่
- สูตรแสดงข้อเปรียบเทียบด้วยคนเลี้ยงโค สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยสัจจกนิครนถ์ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยความสิ้นไปแห่งตัณหา สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยคำสอนในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในนิคมชื่ออัสสปุระ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวบ้านสาละ
- สูตรว่าด้วยพราหมณ์คฤหบดีชาวเมืองเวรัญชา
- สูตรว่าด้วยมหาเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรใหญ่
- สูตรว่าด้วยเวทัลละคือการโต้ตอบด้วยการใช้ความรู้ สูตรเล็ก
- สูตรว่าด้วยการสมาทานธรรมะ
- สูตรว่าด้วยภิกษุผู้พิจารณาสอบสวน
- สูตรว่าด้วยภิกษุชาวกรุงโกสัมพี
- สูตรว่าด้วยการเชื่อเชิญของพรหม
- สูตรว่าด้วยมารถูกคุกคาม


» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔

» พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย