ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม

หอพระไตร

» พระวินัยปิฎก

» พระสุตตันตปิฎก

» พระอภิธรรมปิฎก

» พระสูตร

พระไตรปิฎกฉบับประชาชน

พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๕

เล่มที่ ๓๘

๔. ธาตุนยมก

( ธรรมเป็นคู่คือธาตุ )

ธาตุยมกนี้ ก็อย่างเดียวกับอายตนะยมก มีวิธีแบ่งเป็น ๓ หรือ ๓ วารใหญ่ และมีวิธีการอธิบายเป็นอย่างเดียวกัน ความต่างกับอยู่ที่จำนวน คืออายตนะมี ๑๒ เป็นอายตนะภายใน ๖ อายตนะภายนอก ๖ ส่วนธาตุมี ๑๘ ได้แก่ธาตุ คือ ตา , หู, จมูก, ลิ้น, กาย ; รูป, เสียง, กลิ่น , รส, โผฏฐัพพะ ;

ธาตุ คือ จักขุวิญญาณ , โสตวิญญาณ , ฆานวิญญาณ , ชิวหาวิญญาณ , กายวิญญาณ ( ธาตุรู้ทางตา , หู , จมูก , ลิ้น , กาย ) ;

มโนธาตุ ( ธาตุคือใจ )
มโนวิญญาณธาตุ
( ธาตุรู้ทางใจ )
ธัมมธาตุ
( ธาตุคือสิ่งที่รู้ได้ด้วยใจ )

<< ย้อนกลับ  ||  หน้าถัดไป  >>

- มูลยมก
- ขันธยมก
- อายตนยมก
- ธาตุนยมก
- สัจจยมก
- สังขารยมก
- อนุสยมก


» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๒

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๓

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๔

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๕

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๖

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๗

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๘

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๙

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๐

» พระะอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๑

» พระอภิธรรมปิฎก เล่ม ๑๒

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย