วรรณกรรม สุภาษิต ข้อคิด คำคม สำนวน โวหาร งานเขียน >>
(ร่าย กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์)
ฉันท์
จปลาวัตตฉันท์ ๑๖
จปลาวัตตฉันท์ เป็นชื่อที่เรียกตามแบบไทย แต่ในวิสมวุตตินิเทศ ในคัมภีร์วุตโตทยมัญชรี ท่านเรียกว่า จปลาวัตตคาถา จปลาวัตตะ แปลว่า คาถาที่เวียนมาด้วยคณะที่หวั่นไหว เป็นคาถา ๔ บาท ๆ ละ ๘ คำ มีสูตรว่า นกาโร เจ ชลธิโต จปลาวตฺตมิจฺเจตํ แปลว่า คาถาที่มี น คณะ ท้าย ๔ พยางค์ นี้ ชื่อว่า จปลาวัตตคาถา
ในการบัญญัติฉันท์ไทยนั้น ท่านนำสูตรดังกล่าวมาเป็นสูตร โดยกำหนดนำมาเพียง ๒ บาท แล้วปรับปรุงให้เป็น ๓ วรรค รวม ๑๖ คำ เพราะรวมทั้งบทมี ๑๖ คำ จึงเรียกว่า ฉันท์ ๑๖ แล้วเพิ่มสัมผัสเข้า คือ คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ส่งสัมผัสไปยังคำสุดท้ายของวรรคที่ ๒, และคำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ส่งสัมผัสไปยังคำที่พร้อมจะรับในบทที่จะแต่งต่อไป
แผนผัง จปลาวัตตฉันท์ ๑๖
- ตนุมัชฌาฉันท์ ๖
- กุมารลลิตาฉันท์ ๗
- จิตรปทาฉันท์ ๘
- วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
- มาณวกฉันท์ ๘
- สมานิกาฉันท์ ๘
- ปมาณิกาฉันท์ ๘
- หลมุขีฉันท์ ๙
- ภุชคสุสุสฏาฉันท์ ๙
- สุทธวิราชิตฉันท์ ๑๐
- ปณวฉันท์ ๑๐
- รุมมวดีฉันท์ ๑๐
- มัตตาฉันท์ ๑๐
- จัมปกมาลาฉันท์ ๑๐
- มโนรมาฉันท์ ๑๐
- อุพภาสกฉันท์ ๑๐
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๑
- อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๑
- สุมุขีฉันท์ ๑๑
- โทธกฉันท์ ๑๑
- สาลินีฉันท์ ๑๑
- วาโตมมีฉันท์ ๑๑
- สิรีฉันท์ ๑๑
- รโถทธฏาฉันท์ ๑๑
- สวาคตาฉันท์ ๑๑
- ภัททิกาฉันท์ ๑๑
- อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒
- วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
- โตฎกฉันท์ ๑๒
- ทุตวิลัมพิตฉันท์ ๑๒
- ปุฏฉันท์ ๑๒
- กุสุมวิจิตตาฉันท์ ๑๒
- ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
- ปิยังวทาฉันท์ ๑๒
- ลลิตาฉันท์ ๑๒
- ปมิตักขราฉันท์ ๑๒
- อุชชลาฉันท์ ๑๒
- เวสสเทวีฉันท์ ๑๒
- ตามรสฉันท์ ๑๒
- กมลาฉันท์ ๑๒
- ปหัสสิณีฉันท์ ๑๓
- รุจิราฉันท์ ๑๓
- อปราชิตาฉันท์ ๑๔
- ปหรณกลิกาฉันท์ ๑๔
- วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
- สสิกลาฉันท์ ๑๕
- มณิคุณนิกรฉันท์ ๑๕
- มาลินีฉันท์ ๑๕
- ปภัททกฉันท์ ๑๕
- วาณินีฉันท์ ๑๖
- ปัฐยาวัตรฉันท์ ๑๖
- จปลาวัตตฉันท์ ๑๖
- วัตตฉันท์ ๑๖
- สิขริณีฉันท์ ๑๗
- หริณีฉันท์ ๑๗
- มันทักกันตาฉันท์ ๑๗
- กุสุมิตลตาเวลลิตาฉันท์ ๑๘
- เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
- สัททูลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
- วุตตฉันท์ ๒๐
- เวควดีฉันท์ ๒๑
- เกตุมดีฉันท์ ๒๑
- ภัททวิราชฉันท์ ๒๑
- สัทธราฉันท์ ๒๑
- ภัททกฉันท์ ๒๒
- อุปจิตตฉันท์ ๒๒
- อาขยานกีฉันท์ ๒๒
- วิปริตาขยานกีฉันท์ ๒๒
- ทุตมัชฌาฉันท์ ๒๓
- หริณปลุตาฉันท์ ๒๓
- อปรวัตตฉันท์ ๒๓
- ปิงคลวิปุลาฉันท์ ๒๔
- ปุปผิตัคคาฉันท์ ๒๕
- ยวมดีฉันท์ ๒๕
- นการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ตการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ภการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- รการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- วิปรีตปัฐยาวัตรฉันท์ ๓๒
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๐
- อินทรลีลาศฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๒
- อินทรวงศลีลาศฉันท์ ๑๒
- เหมันตดิลกฉันท์ ๑๓
- ติลกัฏฐฉันท์ ๑๓
- อุปชาติฉันท์ ๑๓
- เหมันตลีลาศฉันท์ ๑๓
- อุปดิลกฉันท์ ๑๔
- อุปชาติฉันท์ ๑๔
- วสันตลีลาศฉันท์ ๑๔
- สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘
คณะฉันท์
ครุและลหุ
ศัพท์ลอย
ยัติภังค์
สัมผัส
โวหาร
ประเภทกวีนิพนธ์
ฉันทลักษณ์
สระ
พยัญชนะ
เครื่องประกอบอื่น
การอ่านคำประพันธ์
ร่าย
กาพย์
กลอน
โคลง
ฉันท์