วรรณกรรม สุภาษิต ข้อคิด คำคม สำนวน โวหาร งานเขียน >>
(ร่าย กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์)
ฉันท์
อุปชาติฉันท์ ๑๑
อุปชาติฉันท์ เป็นชื่อที่เรียกตามแบบไทย แต่ในคัมภีร์วุตโตทัย ท่านเรียกว่า อุปชาติคาถา มีสูตรว่า
อนนฺตโรทีริตลกฺขณา เจ
ปาทา วิมิสฺสา อุปชาติโย ตา
เอวํ กิรญฺญาสุปิ มิสฺสิตาสุ
วทนฺติ ชาติสฺวิทเมว นามํ.
ความว่า หากบาทคาถามีลักษณะดังกล่าวแล้ว ต่อเนื่องกันคือเป็นบาทที่ผสมกันในคาถาใด คาถานั้นชื่อว่า อุปชาติคาถา โดยหลักเกณฑ์ฉันท์นี้เป็นคาถาผสม ระหว่างอุเปนทรวิเชียรคาถากับอินทรวิเชียรคาถา โดยกำหนดบทหนึ่งมี ๔ บาท ๆ ละ ๑๑ คำ บาทแรกเป็นอุเปนทรวิเชียรคาถา บาทที่สองเป็นอินทรวิเชียรคาถา ต้องรวม ๒ บท จึงเป็นองค์ประกอบสมบูรณ์ของคาถานี้
ในการบัญญัติอุปชาติฉันท์ไทยนั้น โดยนำเอาหลักเกณฑ์ของอุปชาติคาถามาเป็นหลัก ปรับปรุงใหม่ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น โดยกำหนดบทหนึ่งมี ๒ บาท ๆ ละ ๒ วรรค บาทหนึ่งมี ๑๑ คำ รวมบทหนึ่งมี ๒๔ คำ ต้องรวม ๒ บท คือ ๔๘ คำ จึงเป็นองค์ประกอบสมบูรณ์ โดยบาทแรกขึ้นด้วยอุเปนทรวิเชียร บาทที่ ๒ เป็นอินทรวิเชียร บาทที่ ๓ เป็นอินทรวิเชียร บาทที่ ๔ เป็นอุเปนทรวิเชียร บทต่อไปก็สลับกันอย่างนี้ จะแต่งต่อเท่าใดก็ได้แต่ต้องให้สลับกันไปอย่างนี้
แผนผัง อุปชาติฉันท์ ๑๑
- ตนุมัชฌาฉันท์ ๖
- กุมารลลิตาฉันท์ ๗
- จิตรปทาฉันท์ ๘
- วิชชุมมาลาฉันท์ ๘
- มาณวกฉันท์ ๘
- สมานิกาฉันท์ ๘
- ปมาณิกาฉันท์ ๘
- หลมุขีฉันท์ ๙
- ภุชคสุสุสฏาฉันท์ ๙
- สุทธวิราชิตฉันท์ ๑๐
- ปณวฉันท์ ๑๐
- รุมมวดีฉันท์ ๑๐
- มัตตาฉันท์ ๑๐
- จัมปกมาลาฉันท์ ๑๐
- มโนรมาฉันท์ ๑๐
- อุพภาสกฉันท์ ๑๐
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๑
- อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุเปนทรวิเชียรฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๑
- สุมุขีฉันท์ ๑๑
- โทธกฉันท์ ๑๑
- สาลินีฉันท์ ๑๑
- วาโตมมีฉันท์ ๑๑
- สิรีฉันท์ ๑๑
- รโถทธฏาฉันท์ ๑๑
- สวาคตาฉันท์ ๑๑
- ภัททิกาฉันท์ ๑๑
- อินทรวงศ์ฉันท์ ๑๒
- วังสัฏฐฉันท์ ๑๒
- โตฎกฉันท์ ๑๒
- ทุตวิลัมพิตฉันท์ ๑๒
- ปุฏฉันท์ ๑๒
- กุสุมวิจิตตาฉันท์ ๑๒
- ภุชงคประยาตฉันท์ ๑๒
- ปิยังวทาฉันท์ ๑๒
- ลลิตาฉันท์ ๑๒
- ปมิตักขราฉันท์ ๑๒
- อุชชลาฉันท์ ๑๒
- เวสสเทวีฉันท์ ๑๒
- ตามรสฉันท์ ๑๒
- กมลาฉันท์ ๑๒
- ปหัสสิณีฉันท์ ๑๓
- รุจิราฉันท์ ๑๓
- อปราชิตาฉันท์ ๑๔
- ปหรณกลิกาฉันท์ ๑๔
- วสันตดิลกฉันท์ ๑๔
- สสิกลาฉันท์ ๑๕
- มณิคุณนิกรฉันท์ ๑๕
- มาลินีฉันท์ ๑๕
- ปภัททกฉันท์ ๑๕
- วาณินีฉันท์ ๑๖
- ปัฐยาวัตรฉันท์ ๑๖
- จปลาวัตตฉันท์ ๑๖
- วัตตฉันท์ ๑๖
- สิขริณีฉันท์ ๑๗
- หริณีฉันท์ ๑๗
- มันทักกันตาฉันท์ ๑๗
- กุสุมิตลตาเวลลิตาฉันท์ ๑๘
- เมฆวิปผุชชิตาฉันท์ ๑๙
- สัททูลวิกกีฬิตฉันท์ ๑๙
- วุตตฉันท์ ๒๐
- เวควดีฉันท์ ๒๑
- เกตุมดีฉันท์ ๒๑
- ภัททวิราชฉันท์ ๒๑
- สัทธราฉันท์ ๒๑
- ภัททกฉันท์ ๒๒
- อุปจิตตฉันท์ ๒๒
- อาขยานกีฉันท์ ๒๒
- วิปริตาขยานกีฉันท์ ๒๒
- ทุตมัชฌาฉันท์ ๒๓
- หริณปลุตาฉันท์ ๒๓
- อปรวัตตฉันท์ ๒๓
- ปิงคลวิปุลาฉันท์ ๒๔
- ปุปผิตัคคาฉันท์ ๒๕
- ยวมดีฉันท์ ๒๕
- นการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ตการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- ภการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- รการวิปุลาฉันท์ ๓๒
- วิปรีตปัฐยาวัตรฉันท์ ๓๒
- อุปัฏฐิตาฉันท์ ๑๐
- อินทรลีลาศฉันท์ ๑๑
- อุปชาติฉันท์ ๑๒
- อินทรวงศลีลาศฉันท์ ๑๒
- เหมันตดิลกฉันท์ ๑๓
- ติลกัฏฐฉันท์ ๑๓
- อุปชาติฉันท์ ๑๓
- เหมันตลีลาศฉันท์ ๑๓
- อุปดิลกฉันท์ ๑๔
- อุปชาติฉันท์ ๑๔
- วสันตลีลาศฉันท์ ๑๔
- สุรางคนางค์ฉันท์ ๒๘
คณะฉันท์
ครุและลหุ
ศัพท์ลอย
ยัติภังค์
สัมผัส
โวหาร
ประเภทกวีนิพนธ์
ฉันทลักษณ์
สระ
พยัญชนะ
เครื่องประกอบอื่น
การอ่านคำประพันธ์
ร่าย
กาพย์
กลอน
โคลง
ฉันท์