เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
โรคที่สำคัญในโคนม
การให้ยาโคนม
เกษตรกรสามารถให้ยาแก่โคของตนเองได้ โดยมีหลักการดังนี้
- อยู่ภายใต้การควบคุมของสัตวแพทย์
- ให้ยาในขนาดที่ถูกต้องและครบจำนวนไม่หกหล่นในระหว่างการให้
- ให้ยาถูกทาง เช่น ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ฉีดเข้ากล้าม ให้ทางปาก ทาภายนอกหรือฉีดเข้าเต้านม เป็นต้น
- ควรอ่านฉลากยาให้ละเอียดก่อนเสมอ ศึกษาคุณภาพของยา อันตรายและแนวทางการแก้ไข วันหมดอายุของยา วิธีใช้ ฯลฯ
- ความสะอาดทุกขั้นตอนเป็นสิ่งที่สำคัญ เข็มและกระบอกฉีดยาต้องสะอาดปราศจากเชื้อโรค บ่อยครั้งที่พบว่าโคเกิดเป็นฝีตรงบริเวณที่ฉีดยาหรือวัคซีน
- การให้ยาหลายอย่างในเวลาเดียวกัน อาจเกิดผลเสียถ้าฤทธิ์ยาไม่สอดคล้องกัน
- ทุกครั้งที่ให้ยาควรถามสัตวแพทย์ว่าต้องงดส่งนมหรือไม่ เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค ซึ่งจะสะท้อนผลกลับมาหาเกษตรกรเอง
- การใช้ยาไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดการดื้อยาขึ้นได้
- ในระหว่างปฏิบัติงานเกี่ยวกับการใช้ยา ห้ามเกษตรกรดื่มหรือกินอาหารและสูบบุหรี่เด็ดขาด เพราะอาจได้รับสารที่เป็นพิษเข้าไป
- บันทึกการใช้ยาโดยละเอียดทุกครั้ง เพื่อเป็นข้อมูลประจำตัวสัตว์
»
วัคซีนโค
»
ประเภทของเวชภัณฑ์
»
ตู้ยาประจำคอกโคนม
»
การใช้ปรอทวัดไข้
»
โรค
»
โรคปอดบวมในลูกโค
»
ฝี
»
ปัสสาวะแดง
»
วัณโรค
»
โรคแท้งติดต่อ(บรูเซลโลซีส)
»
โรคปากและเท้าเปื่อย
»
โรคคอบวมหรือโรคคอดัง
»
โรคกาลีหรือโรคแอนแทรกซ์
»
โรคเต้านมอักเสบ
»
โรคไข้น้ำนม
»
หูดโค
»
ขี้กลากโค
»
ท้องอืดในโค
»
พยาธิภายในของโคนม
»
พยาธิตัวกลมในทางเดินอาหาร
»
พยาธิตัวตืด
»
พยาธิใบไม้ในตับ
»
หน่วยงานที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคพยาธิ
»
การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
» การให้ยาโคนม
»
การให้ยาทางปากแก่โค
»
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อโคนม
»
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
»
การให้ยาภายนอก
»
การให้ยาสอดเต้านม
»
การทำลายซากโค