เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
โรคที่สำคัญในโคนม
การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยโรคพยาธิเบื้องต้นที่นิยมกันทั่วไป และได้ผลดี คือ การตรวจหาไข่พยาธิจากอุจจาระโคที่เก็บส่งห้องปฏิบัติการอย่างถูกวิธี คือ
- ล้วงเก็บอุจจาระจากทวารโดยตรง หรือทันทีที่โคถ่ายออกมาประมาณผลมะกรูด
ใส่ถุงพลาสติกผูกปากถุงให้แน่น นำส่งภายใน 2 ชั่วโมง
หากต้องใช้เวลานำส่งเกินกว่านั้น ให้แช่ในน้ำแข็งไว้ตลอดเวลา
- หากนำส่งโดยวิธีในข้อ 1 ไม่สะดวก ให้ใช้ฟอร์มาลิน 10% เติมลงจนท่วมอุจจาระนั้นแล้วบี้อุจจาระให้กระจายออกเพื่อให้ฟอร์มาลินแทรกได้ทั่วถึงซึ่งจะช่วยรักษาสภาพของไข่พยาธิไว้ได้นานเป็นสัปดาห์และสามารถส่งทางไปรษณีย์ได้
ไข่พยาธิในอุจจาระที่ถูกทิ้งไว้ในสภาพธรรมชาตินานเกินไปจะเจริญเป็นตัวอ่อน ทำให้การวินิจฉัยโรคพยาธิผิดพลาด และทุกครั้งที่เกษตรกรส่งอุจจาระไปตรวจนั้นควรให้รายละเอียดต่อไปนี้กำกับไปด้วย
- ชื่อเจ้าของ และที่อยู่
- ชื่อโค หรือหมายเลขประจำตัว กำกับที่ถุงอุจจาระทุกใบ
- วันที่เก็บอุจจาระ
- อายุของโคและลักษณะอาการทั่วไปของโค
»
วัคซีนโค
»
ประเภทของเวชภัณฑ์
»
ตู้ยาประจำคอกโคนม
»
การใช้ปรอทวัดไข้
»
โรค
»
โรคปอดบวมในลูกโค
»
ฝี
»
ปัสสาวะแดง
»
วัณโรค
»
โรคแท้งติดต่อ(บรูเซลโลซีส)
»
โรคปากและเท้าเปื่อย
»
โรคคอบวมหรือโรคคอดัง
»
โรคกาลีหรือโรคแอนแทรกซ์
»
โรคเต้านมอักเสบ
»
โรคไข้น้ำนม
»
หูดโค
»
ขี้กลากโค
»
ท้องอืดในโค
»
พยาธิภายในของโคนม
»
พยาธิตัวกลมในทางเดินอาหาร
»
พยาธิตัวตืด
»
พยาธิใบไม้ในตับ
»
หน่วยงานที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคพยาธิ
» การเก็บอุจจาระเพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
»
การให้ยาโคนม
»
การให้ยาทางปากแก่โค
»
การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อโคนม
»
การฉีดยาเข้าใต้ผิวหนัง
»
การให้ยาภายนอก
»
การให้ยาสอดเต้านม
»
การทำลายซากโค