สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

การเมืองการปกครอง

ความหมายการเมืองการปกครอง
รัฐ (State)
ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ (Constitution)
กฎหมาย (Law)
อำนาจอธิปไตย
รัฐสภา พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง
ประชาชนกับบทบาททางการเมือง
ลัทธิการเมืองและเศรษฐกิจ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
การเมืองการปกครองไทย
ระบบเศรษฐกิจและระบบการปกครอง
ธรรมาภิบาล
บรรณานุกรม

ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

พระราชกฤษฎีกา

เป็นกฎหมายที่มีศักดิ์ต่ำลงมากว่ากฎหมายที่กล่าวมาข้างต้น พระราชกฤษฎีกา เป็นกฎหมายที่ฝ่ายบริหารเป็นผู้ออก โดยออกตามความในพระราชบัญญัติ เป็นการกำหนดรายละเอียดของกฎหมาย โดยมีข้อความในพระราชบัญญัติ เป็นหลักใหญ่ๆ ที่สำคัญๆ แล้วฝ่ายบริหารมาออกพระราชกฤษฎีกา กำหนดรายละเอียดในทางปฏิบัติ พระราชกฤษฎีกานี้ ผู้ตราหรือผู้ลงนาม คือ พระมหากษัตริย์ สามารถประกาศใช้ได้เลย โดยไม่ต้องผ่านการพิจารณาจากรัฐสภา อนึ่งมีพระราชกฤษฎีกาบางประเภท ออกโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ เช่นพระราชกฤษฎีกาเปิด หรือปิดสมัยประชุม พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พระราชกฤษฎีกาเหล่านี้ มีความสำคัญมากกว่าพระราชกฤษฎีกาที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติ

ความสำคัญระหว่างรัฐกับสังคม
กลไกในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม
รัฐธรรมนูญ
กฎหมาย
ความหมายของกฎหมาย
ลักษณะของกฎหมาย
กฎหมายตามแบบพิธี
การจัดลำดับความสำคัญของกฎหมาย
พระราชบัญญัติและประมวลกฎหมาย
พระราชกำหนด
พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง
เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติจังหวัด ข้อบังคับสุขาภิบาล
ที่มาของกฎหมาย
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายภายในประเทศ (National Law)
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
วัฒนธรรมหรือประเพณี
ผลของการมีความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคม

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย