สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
การปฏิบัติการของทหารไทยในสงครามเวียดนาม
เมื่อประมาณ 3,000 ปีมาแล้ว ชาวเวียดนามเคยอาศัยอยู่ในดินแดนแถบตอนใต้ของประเทศจีน ถูกจีนรุกรานจึงถอยร่นลงมาทางใต้ บางครั้งตกเป็นเมืองขึ้นของจีน เวียดนามจึงรับวัฒนธรรมของจีนไว้มาก
ในปี พ.ศ.2416 เวียดนามตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ฝรั่งเศสได้แบ่งการปกครองเวียดนามออกเป็น 3 แคว้น คือ แคว้นตังเกี๋ย อยู่ทางตอนเหนือ แคว้นอันนัม อยู่ทางตอนกลาง และแคว้นโคชินไชน่า อยู่ทางตอนใต้ ฝรั่งเศสได้เปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีให้เป็นแบบฝรั่งเศส
ในปี พ.ศ.2484 ได้เกิดขบวนการเวียดมินห์ขึ้น เพื่อขับไล่ฝรั่งเศส โดยมีผู้ที่มีสมญาว่า โฮจิมินห์ เป็นผู้นำ
ในปี พ.ศ.2485 ขณะเกิดสงครามมหาเอเชียบูรพา ญี่ปุ่นได้เข้ายึดครองภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เวียดนามจึงได้ประกาศตนเป็นอิสระ แต่คงอยู่ในการควบคุมของญี่ปุ่น ขบวนการเวียดมินห์ก็ได้ร่วมมือกับสหรัฐฯ และฝ่ายสัมพันธมิตร ทำการต่อต้านญี่ปุ่น เมี่อญี่ปุ่นแพ้สงคราม โฮจิมินห์จึงจัดตั้งรัฐบาลชั่วคราวขึ้น เมื่อปี พ.ศ.2488 และหลังจากที่จักรพรรดิเบาได๋ ได้สละราชสมบัติในปีเดียวกันนั้น โฮจิมินห์ก็ตั้งรัฐบาลขึ้นบริหารประเทศ และเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบสาธารณรัฐ ฝรั่งเศสได้หาทางกลับไปมีอิทธิพลเหนือเวียดนามอีก โดยมีอังกฤษให้ความช่วยเหลือ ขบวนการเวียดมินห์ได้พยายามต่อสู้ เพื่อขับไล่ฝรั่งเศสอยู่ 9 ปี แต่ไม่สำเร็จ ฝรั่งเศสยึดเมืองต่าง ๆ ไว้ได้
หลังจากจีนคอมมิวนิสต์ได้ขับไล่จีนคณะชาติไปยังเกาะไต้หวันแล้วก็ได้เข้ามาช่วยขบวนการเวียดมินห์เพื่อขับไล่ฝรั่งเศส ต่อมาเมื่อเวียดมินห์ยึดเดียนเบียนฟูได้ ฝรั่งเศสกับเวียดนามก็ได้ทำสัญญาสงบศึกที่กรุงเจนีวา เมื่อปี พ.ศ.2497 เรียกว่า อนุสัญญาเจนีวา มีสาระสำคัญคือ ให้แบ่งเวียดนามออกเป็นสองส่วน คือ เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ โดยใช้เส้นรุ้งที่ 17 เหนือ ซึ่งผ่านเมืองกวางตรี ตามแนวแม่น้ำเบนไฮ เป็นเส้นแบ่งเขตแดน และให้เวียดนามเหนือ เวียดนามใต้ ลาว และกัมพูชา ซึ่งเคยรวมเป็นอินโดจีนของฝรั่งเศสตั้งแต่ปี พ.ศ.2468 แยกออกเป็นรัฐอิสระ พ้นจากการปกครองของฝรั่งเศส พื้นที่บริเวณเส้นรุ้ง 17 องศาเหนือ มีเขตแดนปลอดทหารด้านละไม่เกิน 5 กิโลเมตร ในการนี้สหรัฐอเมริกา และเวียดนามใต้ไม่ได้ร่วมลงนามด้วย
เวียดนามเหนือมีนโยบายที่รวม เวียดนามเข้าด้วยกัน และปกครองในระบอบคอมมิวนิสต์ โดยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ เมื่อปี พ.ศ.2503 โดยไม่มีการเลือกตั้งใด ๆ แต่มีการแต่งตั้งโฮจิมินห์ขึ้นเป็นประธานาธิบดี
ทางด้านเวียดนามใต้ ยังคงตกอยู่ใต้อิทธิพลของฝรั่งเศส
โดยฝรั่งเศสได้เชิญจักรพรรดิเบาได๋ ขึ้นเป็นประมุขปกครองประเทศ
ต่อมากลุ่มผู้รักชาติ เวียดนามใต้ได้ขับไล่ฝรั่งเศสออกจากเวียดนาม จักรพรรดิเบาได๋
ได้แต่งตั้งนายโงดินห์เดียม เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีระบอบการปกครองแบบสาธารณรัฐ
และได้จัดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดี หลังจากที่จักรพรรดิ์ เบาได๋
สละราชสมบัติอีกครั้งหนึ่ง ในปี พ.ศ.2498 หลังจากนั้นก็มีการวุ่นวายแย่งชิงอำนาจกัน
ในปี พ.ศ.2506 ได้มีคณะทหารเข้ายึดอำนาจการปกครอง
ได้ประกาศนโยบายที่จะกวาดล้างคอมมิวนิสต์ สหรัฐฯ ให้การรับรอง
ต่อมาทางเวียดนามเหนือ ได้เปิดฉากทำสงครามกองโจรกับเวียดนามใต้
กองกำลังทหารไทยในสงครามเกาหลี
การเตรียมการส่งกำลังทหารไปร่วมรบ
การปฏิบัติการในสมรภูมิเกาหลี
การถอนตัวจากกรุงเปียงยาง
การขึ้นสมทบกับกองพลน้อยที่ 28 ของอังกฤษ
การเคลื่อนที่เข้าหาเมืองชุนชอน และการเข้าตีเมืองวาซอน
การปรับปรุงกำลังทหารของไทย
การย้ายกำลังเข้ากรุงโซล และการเข้าตีเมืองอุยจองบู
การเจรจาเพื่อยุติสงคราม และสงบศึก
ผลที่ประเทศไทยได้รับจากสงครามเกาหลี
คำสดุดี แด่ทหารผู้เสียชีวิตในกรณีสงครามเกาหลี
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 2
การขึ้นประจำแนวต้านทานหลักเจมส์ทาวน์
การปฏิบัติของทหารบกผลัดที่ 3
การปฏิบัติการรบ ณ ที่มั่นตั้งรับแนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาทีโบน
การปฏิบัติหน้าที่ในกองหนุนของกองพลที่ค่ายเคซี (Camp Cacy)
การปฏิบัติระหว่างเป็นกองหนุนของกองพลที่เมืองยอนชอน
การปฏิบัติการรบบนที่มั่นตั้งรับ แนวเจมส์ทาวน์ด้านเขาพอร์คชอป
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 2
การรบบนที่มั่นเขาพอร์คชอป ครั้งที่ 3
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 4
การปฏิบัติการบริเวณเขาเดอะฮุค และเขายิบรอลตาร์
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 5
การปฏิบัติการรบที่บูเมอแรง
การปฏิบัติการของทหารบก ผลัดที่ 6
การปฏิบัติการของกองพันทหารไทย
การปฏิบัติการของทหารบกผลัดที่ 7 - 23
การปฏิบัติการของกองร้อยอิสระผลัดที่ 7 - 23
กองร้อยกองเกียรติยศประจำกองบัญชาการสหประชาชาติ
การปฏิบัติการของทหารเรือ
การจัดกำลังทางเรือของสหประชาชาติในสงครามเกาหลี
การปฏิบัติการของ มส.
การปฏิบัติการของเรือหลวงบางปะกง
การรับมอบเรือหลวงท่าจีน และเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของเรือหลวงท่าจีน
การปฏิบัติการของเรือหลวงประแส
การปฏิบัติการของทหารอากาศ
การจัดชุดพยาบาลทางอากาศ และการผลัดเปลี่ยน
การปฏิบัติงานของชุดพยาบาลทางอากาศ
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 1
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 2
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 3
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 4 - 17
การปฏิบัติการของหน่วยบินลำเลียงชุดที่ 18 - 24
การปฏิบัติของหน่วยบรรเทาทุกข์สภากาชาดไทย
เจ้าหน้าที่หน่วยแพทย์บรรเทาทุกข์สภากาชาดไทยรุ่นที่ 1 - 4
การปฏิบัติการของทหารไทยในสงครามเวียดนาม
เหตุการณ์ในเวียดนามก่อนเกิดสงคราม
การช่วยเหลือของฝ่ายโลกเสรี
การส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเวียดนาม
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม ผลัดที่ 1
กองบัญชาการกองกำลังทหารไทยฯ ผลัดที่ 2 - 5
สำนักงานผู้แทนทหารไทยในสาธารณรัฐเวียดนาม
กรมทหารอาสาสมัคร(กรม อสส.)
แผนการยุทธและการปฏิบัติการ
การปฏิบัติการรบที่ฟุกโถ(20 - 21 ธันวาคม 2510)
กองพลทหารอาสาสมัคร(พล.อสส.)
กองพลทหารอาสาสมัครผลัดที่ 1
การรบที่บินห์สัน (Binh Son)
การรบที่ล็อคอัน (Loc An)
คำชมเชยจากต่างประเทศ
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 1 ส่วนที่ 2
การรบที่เฟือกกาง (Phuoc Cang)
ยุทธการอัศวิน
ยุทธการวูล์ฟแพค 1,2 (Woltpack I,II)
ยุทธการเบ็นแคม (Ben Cam)
ยุทธการเฟือกเหงียน (Phuac Nguyen)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
กองพลทหาร อาสาสมัคร ที่ 2
พื้นที่การปฏิบัติการ การจัดกำลัง และการวางกำลัง
ยุทธการมิตรภาพ
ยุทธการสี่พยัคฆ์ (Opcration Tu Ho)
ยุทธการบางปู
ยุทธการ 234
ยุทธการซุยคา
ยุทธการคีย์แมน
ยุทธการทัมเทียน (Tham Thien)
ยุทธการสายฟ้าแลบ (Thunderbolt)
การผลัดเปลี่ยน และเดินทางกลับ
บทเรียนจากการรบ และการสูญเสีย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3
การถอนกำลังกลับประเทศไทย
กองพลทหารอาสาสมัคร ผลัดที่ 3 ส่วนที่ 2
การปฏิบัติการรบของกองร้อยจู่โจม (15 - 18 เมาายน 2514)
การปฏิบัติการของชุดเพชฌฆาตสังหาร (17 - 18 สิงหาคม 2514)
อิสริยาภรณ์ และเหรียญตราที่ได้รับ
หน่วยเรือซีฮอร์ส
เรือหลวงพงัน
การปฏิบัติการระหว่าง ปี พ.ศ. 2510 - 2515
สรุปการปฏิบัติของหน่วยเรือซีฮอร์ส
หน่วยบินวิคตอรี
การลำเลียงขนส่งทางอากาศ 1,776 ภารกิจ
การยุติสงครามเวียดนาม
ยุทธศาสตร์เวียดนามเหนือ
การดำเนินการของเวียดนามเหนือ และเวียดกง
การเจรจาสันติภาพที่กรุงปารีส
สถานการณ์ในเวียดนามใต้ หลังการถอนกำลังฝ่ายโลกเสรี