ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
เบ็นธัม
(Jereny Bemtham 1748-1832)
นักปรัชญาชาวอังกฤษ ผู้ให้กำเนิดหลักจริยธรรมที่เรียกว่าหลักประโยชน์นิยมหรือทฤษฎีประโยชน์นิยม (Utilitarianism) คือความประพฤติที่ถูกต้องชอบธรรม และมีผลให้เกิดความสุขหรือความพึงพอใจทางกายมากที่สุดแก่คนส่วนมากที่สุด (The Greatest Happiness For The Greatest Number) จุดมุ่งหมายของเบ็นธัมก์ คือ ในสังคมนั้นรัฐต้องคำนึงถึงความสุข หรือความพึงพอใจของสังคม โดยมุ่งมีกฏหมายมาเป็นตัวบังคับสำหรับหมู่คณะ เพื่อนำไปสู่ความสุขหรือความพึงพอใจแก่คนส่วนใหญ่ ดังนั้นมนุษย์ต้องเคารพกฏหมาย เพราะนำไปสู่ความสุขของสังคมส่วนใหญ่ งานเขียนทางการเมืองที่สำคัญของเขาคือ Introduction to The Principles of Morals and Legislation
แนวความคิดของนักปรัชญายุคโบราณ
คำนิยามของปรัชญา
ธาเลส
(Thales)
อานักซิมานเดอร์
(Anaximander)
อานักซิเมเนส
(Anaximenes)
ไพธากอรัส
(Pythagoras)
เฮราคลีตุส
(Heraclitus)
เซโนฟาเนส
(Xenophanes)
ปาร์มีนิเดส
(Parenides)
เซโนแห่งเอเลีย
(Zeno of elea)
เอมเปโดเคลส
(Empedocles)
อานักซาโกรัส
(Anaxagoras)
เดมอคริตุส
(Democritus)
โปรแทกอรัส
(Protagoras)
โสคราตีส
(Socrates)
พลาโต้
(Plato)
อาริสโตเติ้ล
(Aristotle)
เซนต์
ออกัสติน (St. Augustine ค.ศ. 354-430)
มาเคียเวลลี่
(Nicolo Machiavelli ค.ศ. 146-1527)
โธมัส
ฮอบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679)
จอหน์
ลอค (John Locke 1632-1714)
รุสโซ
(Jean Jacqnes Rousseau 1712-1778 )
เบ็นธัม (Jereny
Bemtham 1748-1832)
มิลล์
(J.S.Mill 1806-1873)
มาร์กซ์
(Karl Marx 1818-1883)