ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
มาเคียเวลลี่
(Nicolo Machiavelli ค.ศ. 146-1527)
นักปรัชญาชาวอิตาลี หลักปรัชญาการเมืองของท่าน คือ รัฐเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในตัวเอง การเมืองอนุญาตให้ผู้ปกครองทำได้ทุกอย่างเพื่อผลประโยชน์ของรัฐ นั่นหมายความว่า รัฐสามารถใช้ความรุนแรงในการปกครอง เช่นกำจัดฝ่ายตรงข้ามให้หมดไป เพื่อเสถียรภาพของรัฐ และบางครั้งต้องใช้การโกหกหลอกลวง หรือผู้ปกครองให้สัญญาแต่ไม่รักษาสัญญา นั่นหมายความว่า จริยธรรมที่คนทั่วไปยอมรับกัน เช่นการไม่พูดปดและการรักษาคำพูด เป็นสิ่งที่ไม่สามารถนำมาใช้กับการบริหารรัฐ เพราะจุดมุ่งหมายของรัฐมีอย่างเดียวคือความอยู่รอดและสันติสุข จากทัศนะดังกล่าว ทำให้ท่านถูกมองว่า เป็นผู้เสนอทฤษฎีการเมืองแบบใช้อำนาจ และเป็นผู้เพิกเฉยจริยธรรมทั้งหมดนั่นเอง และท่านก็เป็นนักปรัชญาคนสุดท้ายของปรัชญาตะวันตกสมัยกลางดังที่กล่าวแล้ว
แนวความคิดของนักปรัชญายุคโบราณ
คำนิยามของปรัชญา
ธาเลส
(Thales)
อานักซิมานเดอร์
(Anaximander)
อานักซิเมเนส
(Anaximenes)
ไพธากอรัส
(Pythagoras)
เฮราคลีตุส
(Heraclitus)
เซโนฟาเนส
(Xenophanes)
ปาร์มีนิเดส
(Parenides)
เซโนแห่งเอเลีย
(Zeno of elea)
เอมเปโดเคลส
(Empedocles)
อานักซาโกรัส
(Anaxagoras)
เดมอคริตุส
(Democritus)
โปรแทกอรัส
(Protagoras)
โสคราตีส
(Socrates)
พลาโต้
(Plato)
อาริสโตเติ้ล
(Aristotle)
เซนต์
ออกัสติน (St. Augustine ค.ศ. 354-430)
มาเคียเวลลี่
(Nicolo Machiavelli ค.ศ. 146-1527)
โธมัส
ฮอบส์ (Thomas Hobbes 1588-1679)
จอหน์
ลอค (John Locke 1632-1714)
รุสโซ
(Jean Jacqnes Rousseau 1712-1778 )
เบ็นธัม
(Jereny Bemtham 1748-1832)
มิลล์
(J.S.Mill 1806-1873)
มาร์กซ์
(Karl Marx 1818-1883)