วรรณกรรม สุภาษิต ข้อคิด คำคม สำนวน โวหาร งานเขียน >>
ร้อยกรองไทย
วิทยา ผิวงาม
ประเทศไทยเรามีภาษาไทยและอักขระไทยเป็นเอกลักษณ์ ประกอบกับด้วย ความที่คนไทยเรานั้นมีนิสัยประณีต บรรจงและรักสงบ นักปราชญ์ นักกวีไทยในสมัยก่อน จึงได้สรรค์สร้างเอาอักขระไทยและภาษาไทยมาผสมผสานกัน โดยให้มีความไพเราะ และเกิดการวิจิตรทางภาษานั้นก็คือ การประพันธ์ เมื่อการเวลาผ่านไปนักปราชญ์ชาวไทย ก็ได้พัฒนาการประพันธ์ให้วิจิตรและงดงามมากขึ้น ดั่งเช่น คำคล้องจอง ธรรมดา ซึ่งเราอาจะเรียกว่าร่ายโบราณก็ได้ ต่อมาก็เริ่มมีการสัมผัสอักษร ก่อให้เกิดโคลงและกลอน เราได้รู้จักเอาของอินเดียบ้าง บทสวดบ้างมาประยุกต์จนเกิดกาพย์ขึ้นมา รู้จักการใช้สระ เสียงหนัก-เบา ก่อให้เกิดฉันท์ และที่สำคัญที่สุดคือการประยุกต์สิ่งของที่มีอยู่เดิม ทำให้ เกิดลิลิตขึ้นมา
ฉันทลักษณ์
โคลง
ฉันท์
กาพย์
กลอนสุภาพ
ร่าย
ประวัติการประพันธ์
การพัฒนาร้อยกรองไทยในปัจจุบัน
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง
บทอาขยาน
บรรณานุกรม
- กำชัย ทองหล่อ . หลักภาษาไทย . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุภา , 2541
- กาญจนา แก้วเทพ. การวิเคราะห์สื่อแนวคิดและเทคนิค. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542.
- นววรรณ พันธุเมธา. หลักการใช้ภาษาในการสื่อสาร. นนทบุรี : สุโขทัยธรรมมาธิราช, 2537.
- บุญยงค์ เกศเทศ. เขียนไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2535.
- วิเชียร เกษประทุม. วรรณคดีไทย . กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา , 2538 .