ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

การถ่ายภาพกลางแจ้งหมายถึง การถ่ายภาพโดยใช้แสดงสว่างจากดวง อาทิตย์มีหลักการให้แสงดังนี้.

  1. ช่วงเวลาที่เหมาะของแสงในการถ่ายภาพ คือ ก่อน 4 โมงเช้า และหลัง 4 โมงเย็น เพราะจะให้แสงที่นิ่มนวล อย่างไรก็ตามใช้ช่วงเวลา 2 ชั่วโมงหลังจากดวงอาทิตย์ขึ้นจนถึง 4 โมงเช้า และก่อนอาทิตย์ตก 2 ชั่วโมงก็ได้ จะทำให้ได้ภาพที่มีอุณหภูมิสีของแสงใกล้เคียงกัน ไม่ผิดเพี้ยนจากความเป็นจริง
  2. หลีกเลี่ยงการถ่ายภาพช่วงกลางวันหรือ ที่มีแสงแดดจ้า เพราะจะ ทำให้เงาแข็งกระด้าง มีเงาตกลงบนเบ้าตา ตลอดจนทำให้ตาหรี่ไม่สวยงาม ถ้า จำเป็นควรใช้แผ่นสะท้อนแสง และไฟแฟลชช่วย หรือถ่ายภาพใต้ร่วมเงาของต้นไม้ หรือตึกก็ได้
  3. ถ้าถ่ายภาพบุคคล ควรให้แสงเข้าด้านข้าง 45 องศา ไม่ควรให้ เข้าด้านหน้าตรง ๆ เพราะจะทำให้ได้ภาพที่ไม่มีมิติ
  4. บางครั้งอาจถ่ายภาพย้อนแสง เพื่อให้ได้อารมณ์ที่แปลกออกไปได้
  5. หากถ่ายภาพหลังจากฝนหยุดตกสักพักหนึ่ง ก็จะได้ภาพที่น่าสนใจ มีชีวิตชีวาอีกแบบหนึ่งได้

เสนอแนะงานถ่ายภาพ

1. การถ่ายภาพทิวทัศน์ (Landscape)
2. การถ่ายภาพวัตถุอย่างเดียวกันซ้ำซ้อนกัน (Repettition)
3. การถ่ายภาพเงาสะท้อน (Reflection)
4. การถ่ายภาพมีกรอบ (Frame)
5. การถ่ายภาพให้มีเส้นนำสายตา (Perspective)
6. การถ่ายภาพบรรยากาศ (Atmosphere)
7. การถ่ายภาพเงาดำ (Silhovette)
8. การใช้ฟิลเจอร์ช่วยเน้นสีของภาพ (Filters)
9. การถ่ายภาพกลางคืน (Night Picture)
10. การถ่ายภาพแบบชัดลึก-ชักตื้น (Dept-of-Field)

  • เปลี่ยนขนาดรูรับแสง (Diaphragm)
  • เปลี่ยนระยะความคมชัด (Focus)

11. การส่ายกล้อง (Panning)
12. การหยุดภาพ (Stop Action)
13. การใช้แฟลช (Flash)

  • ในที่ร่มหรือที่มืด
  • ลบเงา

14. การถ่ายภาพบุคคล (Portraits)

  • ภาพเด็ก (หญิง, ชาย)
  • ภาพหนุ่มสาว (หญิง, ชาย)
  • ภาพคนแก่ (หญิง, ชาย)

15. ภาพระยะใกล้

  • ภาพคน
  • ภาพสัตว์
  • ภาพวัตถุสิ่งของ

16. การถ่ายภาพเรื่องราว ตามจุดมุ่งหมายเพื่อการศึกษา (Story Set)

นอกจากนั้นควรเก็บและใช้ภาพดังนี้

1. เก็บเป็นชุด หรือสมุดภาพ (Collection Book or Album)
2. จัดนิทรรศการผลงานภาพถ่าย (Display)

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย