ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

การนำภาพออกแสดง

นอกจากการเก็บภาพไว้ในสมุดภาพ หรืออัลบั้มแล้วยังมีวิธีอื่น ๆ อีกมาก มายที่เราสามารถแสดงภาพได้ ที่นิยมคือการผนึกภาพกับแผ่นวัสดุ (Mount) ซึ่งมีสี สันลวดลายตามต้องการผนึกอาจใช้แผ่นกาวแห้ง (Dry Mouting Tissue) ที่ ต้องการความร้อนในการผนึกภาพ หรืออาจใช้กาวลาเท็กส์ผสมน้ำในอัตราส่วน ประมาณ 1:1 ก็ได้

การผนึกควรผนึกลงบนแผ่นรองที่มีขนาดโตกว่าภาพเล็กน้อยเพราะอาจ ใช้เขียน ชื่อภาพ หรือข้อมูลทางเทคนิคข้อมูลอื่น ๆ ลงบนแผ่นรองผนึกได้ การ กำหนดตำแหน่งของภาพบนแผ่นรองอาจใช้การกะสายตา หรือการวัดที่ละเอียดละออ ได้ ในทางศิลปะมักกำหนดตำแหน่งโดยการวัด

นำภาพทางลงบนมุมซ้ายบนของแผ่นรองเสร็จแล้วลากเส้น AB แบ่งครึ่ง จากขอบภาพถึงขอบกระดาษรอง และเส้น CD แบ่งครึ่งจากขอบภาพถึงขอบกระดาษ รองด้านล่างจากจุด Eซึ่งเป็นมุมซ้ายล่างของรูปภาพที่ทาบบนแผ่นรองลากไปหาจุด D ตัดเส้น AB ที่จุด F และจุด F นี่เอง เป็นตำแหน่งของมุมขวาล่างของภาพที่จะผนึก จะเห็นว่าพอเลื่อนภาพโดยให้มุมล่างขวาอยู่ที่จุด F กรอบด้านซ้าย และด้านขวาจะ เท่ากัน ด้านบนจะเล็กกว่าด้านล่างเล็กน้อยเราสามารถเขียนข้อมูลที่จะเป็นลงบน กรอบด้านล่างได้ และภาพผนึกในลักษณะนี้จะทำให้ได้ภาพที่สวยงามด้วย

คุณสมบัติและคุณลักษณะของนักถ่ายภาพที่ดีทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

  1. มีความรู้ทางมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์เป็นอย่างดี
  2. มีความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของสหวิทยาการต่าง ๆ
  3. เป็นคนช่างสังเกต และมีความกระตือรือร้น
  4. มีความพร้อมที่จะบันทึกภาพตลอดเวลา
  5. มีความเข้าใจในเครื่องกลไกทางการถ่ายภาพ
  6. มีความคิดที่จะพัฒนางานบันทึกภาพตามแบบของตน
  7. มีทักษะในการสื่อสาร และถ่ายทอดความคิดด้วยภาพ
  8. มีความรู้ทางศิลปะ และการประกอบภาพ
  9. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และอารมณ์สุขุมเยือกเย็น
  10. มีสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งจิตใจและร่างกายรู้ความเคลื่อนไหวต่าง ๆ
  11. มีเจตคติที่ดีในการทำงาน
  12. มีความซื่อสัตย์ อดทน และจริงใจ

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย