ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

การสำเนา (Copy) ภาพ

เมื่อต้องการสำเนาภาพให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น สามาถนำภาพจากวารสาร หนังสือ สิ่งพิมพ์ หรือภาพถ่ายมาถ่ายลงบนฟิล์ม หรือเนกาติฟแล้วนำไปอัดขยายเพิ่ม จำนวนได้ วิธีการสำเนาสามารถทำได้ 2 ลักษณะ ดังนี้

1. การใช้แท่นถ่ายสำเนา (Copy Stand) แท่นถ่ายสำเนาภาพ มีลักษณะที่มีแขนยึดกับตัวกล้อง สามารถปรับ ระดับสูงต่ำได้ตามต้องการ โดยปกติโคมไฟฟลัด 2 ดวง ทำมุม 45 องศา และให้ แสงสว่างเท่า ๆ กันภาพต้นฉบับที่จะทำสำเนาจะวางราบ ส่วนกล้องอาจใช้เลนส์มา โคร หรือเลนส์ถ่ายใกล้สวมต่อกับเลนส์มาตรฐาน ช่วยในการขยายภาพให้ได้สัดส่วน ตามต้องการในการทำสำเนาภาพควรตั้งหน้ากล้องให้เล็กเพื่อให้มีความชัดลึก ดังนั้น ความเร็วชัดเตอร์อาจจะต่ำ จึงนิยมนำสายลั่นชัตเตอร์มาใช้เพื่อมิให้เกิดการสั่น สะเทือนของกล้องอันอาจทำให้ภาพที่ไม่ชัดเจน หากไม่มีแท่นถ่ายสำเนาโดยเฉพาะ อาจใช้สามขา (Tripod) แทนที่ก็ได้ โดยปรับสามขาในลักษณะที่ให้กล้องคว่ำลง เพื่อถ่ายภาพที่วางไว้กับพื้นแล้วใช้ไฟ 2 ดวง ส่องให้แสงสว่างตามต้องการ

2. การทำสำเนาภาพบนข้างฝา การทำสำเนาภาพบนข้างฝานิยมใช้กับภาพที่มีขนาดใหญ่ โดยนำ ภาพต้นฉบับไปติดไว้ข้างฝา ใช้กล้องติดบนสามขา และมีไฟฟลัด 2 ดวง ทำมุม 45 องศาเช่นเดียวกันหากภาพต้นฉบับมีลักษณะเป็นเงามัน หรือติดกรอบกระจกควรใช้ กระดาษสีดำเจาะรูเฉพาะเลนส์บังกล้อง เพื่อป้องกันการสะท้อนของภาพ กล้องที่สามารถนำมาใช้ เพื่อทำสำเนาภาพหรือถ่ายวัสดุกราฟิค เช่นหัวเรื่อง แผนภูมิ แผนภาพต่าง ๆ นิยมใช้กล้องที่สามารถมองภาพผ่านเลนส์ เพื่อปรับความคมชัดได้ บางครั้งอาศัยอุปกรณ์เสริมดังนี้

  • กล้องที่มีกระโปรงยืด (Bellow) เพื่อปรับระยะทางจาก เลนส์ไปยังฟิล์ม ช่วยในการขยายภาพตามต้องการ
  • กล้องที่สามารถถอดเลนส์แล้วต่อท่อ (Extension Tube) หรือกระโปรงยืด (Bellow) เพื่อปรับระยะทางทางเลนส์ไปยังฟิล์ม เช่น เดียวกับแบบที่ 1
  • กล้องที่สามารถต่อเลนส์ถ่ายใกล้ (Close-up) สวมเข้า กับเลนส์มาตรฐาน อาจเป็นเพียงหนึ่งเลนส์หรือมากกว่านั้นตามต้องการของการ ขยายภาพ ทั้งนี้ต้องสัมพันธ์กับขนาดของภาพ หรือวัสดุกราฟิคที่ต้องการสำเนานั้น ๆ
  • กล้องที่สามารถเปลี่ยนจากเลนส์มาตรฐาน เป็นเลนส์มา โคร(Macro lens) ที่สามารถปรับระยะได้ง่าย และถ่ายใกล้มาก ๆ ได้สะดวก สบายในการทำงาน

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย