ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

ในการถ่ายภาพบบางครั้งต้องการการวัดแสงที่ถูกต้องตามจุดมุ่งหมายและสภาพการของแสงที่เหมาะสม เช่น ถ่ายภาพคนที่อยู่ใต้ร่มเงาต้นไม้ ที่มีแสงข้างหลังสว่างจ้าการวัดแสงอาจไม่ถูกต้องตามจุดมุ่งหมายเพราะถ้าถ่ายภาพลักษณะนี้จะได้ภาพคนมืดคล้ำไม่พอดีการแก้ปัญหาอาจใช้การวัดแสงที่ฝ่ามือภายใต้สภาพแสงเหมือนกับสภาพแสงของคน หรือวัตถุที่ต้องการถ่ายภาพ ในกรณีนี้ คือวัดแสงภายใต้ร่มเงา ถ้าคนที่เราถ่ายภาพมีผิวค่อนข้างขาวอาจเปิดหน้ากล้องให้กว้างขึ้นประมาณ 1 สต๊อป แต่ถ้าผิวใกล้เคียงกันอาจใช้หน้ากล้องเท่ากับที่วัดไว้ เทคนิคเช่นนี้เหมาะที่จะนำไปใช้ในการถ่ายภาพฝูงชนที่เดินขวักไขว่บนท้องถนนและสถานะการณ์ที่คล้ายคลึงกัน

อีกวิธีหนึ่ง คือการใช้กระดาษสีเทาที่สะท้อนแสง 18 เปอร์เซนต์ ที่ถือว่าเป็นมาตรฐาน ของการสะท้อนของแสงเท่ากับค่าเฉลี่ยของการสะท้อนแสงในกล้องใช้วัดกระดาษชนิดนี้เรียกว่ากระดาษสีเทากลาง(Kodak Neutral Test Card) มีขนาด 8 x 10 นิ้ว ด้านสีเทาสะท้อน 18 เปอร์เซนต์ และด้านสีขาวสะท้อน 90 เปอร์เซนต์ ถ้าไม่มีกระดาษสีเทาอาจใช้ผ้าสีเทาแทนก็ได้ผลดีเช่นกัน และสามารถนำติดตัวได้สะดวกกว่ากระดาษด้วย เมื่อใช้เครื่องวัดแสง แบบสะท้อนวัดกระดาษสีเทา จะได้ค่าสะท้อนของแสง สามารถนำไปใช้ในการตั้งหน้ากล้องได้อย่างถูกต้องถ้าอยู่ในสภาพที่มีแสงน้อยอาจใช้วัดด้านสีขาวที่สะท้อน 90 เปอร์เซนต์ได้ ซึ่งด้านนี้จะสะท้อนได้มากกว่าประมาณ 5 เท่า ดังนั้นเมื่อวัดด้านสีขาวแล้วต้องตั้งหน้ากล้องเพิ่มประมาณ 2 1/3 สต๊อป ก็จะได้ภาพสวยงาม




วัดแสงจากกระดาษสีเทาภาพมีการวัดแสงที่ถูกต้อง


วัดแสงจากกระดาษสีขาว ภาพดูมืดลงไป


วัดแสงจากกระดาษสีดำภาพดูสว่างขึ้น

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย