ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

แสง สี และฟิลเตอร์

ก่อนที่จะศึกษาเรื่องฟิลเตอร์จำเป็นต้องเข้าใจการสะท้อนสีของแสงก่อน เช่น เมื่อเราเห็นวัตถุสีแดงนั้นคือผิวหน้าของวัตถุจะดูดกลืนแสงอีก 2 สี คือ สีเขียว และสีน้ำเงินแต่จะมีสีแดงเท่านั้นที่จะสะท้อนออกมาสู่สายตาของคนเรา ถ้าหากวัตถุที่มีสีดำนั้น หมายความว่าผิวหน้าของวัตถุนั้นได้ดูดกลืนแสงสีทั้งหมดเอาไว้ดังนั้นถ้าปราศจากสีสะท้อนเมื่อใดวัตถุนั้น ๆ จะเป็นสีดำทันที วัตถุสีขาวจะดูดกลืนแสงสีเพียงเล็กน้อยเท่านั้น หากแต่จะสะท้อนสีสู่สายตาของเราทั้งสามสีอันมี สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงิน ซึ่งทำให้เกิดเป็นสีขาวขึ้นมา

ฟิลเตอร์มีคุณลักษณะพิเศษคือ ยอมให้สีของแสงผ่านเฉพาะสีเดียวกันกับสีของฟิลเตอร์เท่านั้น ขณะเดียวกันจะดูดกลืนสีอื่นๆ ที่เหลือ ตัวอย่างเช่น ฟิลเตอร์สีแดงจะยอมให้สีแดงผ่านไปตกที่ฟิล์ม แต่จะดูดกลืนสีฟ้า (สีน้ำเงิน + สีเขียว) ฟิลเตอร์สีเขียวจะยอมให้แสงสีเขียวผ่านและดูดกลืนสีม่วง (สีแดง + สีน้ำเงิน) และฟิลเตอร์สีน้ำเงินยอมให้สีน้ำเงินผ่านและดูดกลืนสีเหลือง (สีแดง + สีเขียว) ดังนั้นฟิลเตอร์สีแดง สีเขียว และสีน้ำเงินเรียกว่า ฟิลเตอร์พื้นฐาน (Primary Filters)

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย