ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์ >>

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการถ่ายภาพ

ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

ในการบันทึกข้อมูลทางสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ด้านภาพถ่ายนั้นอาจกำหนดเนื้อหาออกเป็นหมวดหมู่ได้ อย่างน้อย 9 หมวด คือ

  • หมวดที่ 1 เรื่องที่อยู่อาศัย ในหมวดนี้อาจแบ่งได้ 2 กลุ่มคือ
    1. กลุ่มบ้านเรือนสมัยเก่า แสดงถึงรูปแบบวัสดุก่อสร้าง
    2. กลุ่มบ้านเรือนสมัยใหม่
  • หมวดที่ 2 ลักษณะการดำรงชีวิตและความเป็นอยู่ ในหมวดนี้สามารถแยกได้เป็น 2 กลุ่มคือ
    1. อาชีพ หรือการหารายได้ เช่น การทำนา เลี้ยงสัตว์ จักสาน ทอผ้า รวมทั้งอาชีพหลัก อาชีพเสริมต่าง ๆ และเครื่องมือ ที่ใช้ประกอบอาชีพเหล่านั้น

    2. ความเป็นอยู่ ตลอดจนการปฏิบัติตัวในเวลาต่าง ๆ รวมถึงการแต่งกายของผู้คนในท้องที่ด้วย
  • หมวดที่ 3 การพักผ่อนหย่อนใจ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน การละเล่น เช่น ฟ้อนรำ หมอลำ การใช้เวลาว่างในการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การตีไก่ กัดปลา ชกมวย ตลอดจนการเล่นกีฬาชนิดต่าง ๆ
  • หมวดที่ 4 สถาบันต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการให้การศึกษาอบรม เช่น วัด โรงเรียนสมาคม ชมรมต่าง ๆ
  • หมวดที่ 5 การคมนาคม เช่น ยวดยานพาหนะ เป็นต้นว่า รถยนตร์ รถไฟ เครื่องบิน สามล้อ จักรยาน เกวียน หรือพาหนะอื่น ๆ
  • หมวดที่ 6 ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่าง ๆ ในหมวดนี้สามารถแยกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
    1. ชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ชนเผ่าภูไท หรือผู้ไทย ซึ่งก็แยกออกเป็นหลายพวกคือ ภูไทขาว ภูไทลาย ภูไทดำ และภูไทแดง แต่ละพวกก็มีเครื่องแต่งกายที่แตกต่างกัน

    2. ประเพณีต่าง ๆ เช่น ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง ประเพณีบุญบั้งไฟ การบายศรีสู่ขวัญ เป็นต้น
  • หมวดที่ 7 การปกครอง ตลอดจนเจ้าหน้าที่ฝ่ายต่าง ๆ ทั้งระดับประเทศ และระดับท้องถิ่นรวมไปถึงข้าราชการที่ ดำรงตำแหน่งต่างๆ ของทุกระดับ
  • หมวดที่ 8 สถานที่สำคัญ ๆ เช่น ปราสาทเขาพระวิหาร ปราสาทเขาพนมรุ้ง พระธาตุนาดูน พระธาตุนารายณ์เจงเวง ในหมวดนี้อาจรวมเอาสถานที่สำคัญ ๆ ทางการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจไว้ด้วย เช่น ภูหลวง ภูกระดึง เป็นต้น
  • หมวดที่ 9 บุคคลสำคัญ ๆ ที่สามารถเป็นแบบอย่างให้กับคนรุ่นต่อ ๆ ไปซึ่งจะมีคุณค่าทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มาก

» การเก็บข้อมูลทางมนุษย์ศาสตร์ และสังคมศาสตร์ด้วยภาพถ่าย

» พยานอันซื่อสัตย์

» บทบาทของภาพถ่าย

» ภาพที่ควรบันทึกเป็นหลักฐาน

» ข้อเสนอแนะการบันทึกข้อมูลด้วยภาพถ่าย

» คุณลักษณะของภาพถ่ายที่ดี ทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

» ชนิดของกล้องถ่ายรูป

» ส่วนประกอบที่สำคัญของกล้องถ่ายรูป

» อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับกล้อง

» การใช้และการเก็บรักษากล้องถ่ายรูป

» การพิจารณาเลือกกล้องถ่ายรูปแบบเลนส์เดี่ยว

» การบรรจุฟิล์มเข้ากล้อง

» ลักษณะของเลนส์ของกล้องถ่ายรูป

» ชนิดของเลนส์

» การใช้และการระมัดระวังรักษาเลนส์

» ฟิล์ม (Film)

» โครงสร้างของฟิล์ม

» ชนิดของฟิล์ม

» ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อฟิล์ม

» ประเภทของแฟลช

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ที่นิยมใช้กับกล้องSLR

» การคำนวนหาแฟลชไกด์นัมเบอร์

» แฟลชอิเล็กทรอนิกส์

» เทคนิคการถ่ายภาพด้วยแฟลช

» ฟิลเตอร์ (Filter)

» ทฤษฎีสีของแสง

» แสงสีและฟิลเตอร์

» ฟิลเตอร์หรือแว่นกรองแสง

» ชนิดของฟิลเตอร์

» วิธีระมัดระวังรักษาฟิลเตอร์

» ประเภทของชัตเตอร์

» ความเร็วของชัตเตอร์

» การปรับความเร็วชัตเตอร์

» ความสัมพันธ์ของชัตเตอร์กับขนาดรูรับแสง

» การหาค่าของแสง

» เซลล์วัดแสงชนิดต่าง ๆ

» ประเภทของวิธีการวัดแสง

» การใช้อุปกรณ์อื่นวัดแสงแทนเครื่องวัดแสง

» การจัดองค์ประกอบภาพ

» การเลือกองค์ประกอบพื้นฐานของการจัดภาพ

» หลักการวิจารณ์ภาพถ่าย

» การล้างฟิล์ม

» เทคนิคพิเศษทางการถ่ายภาพและทำภาพ

» เทคนิคการทำภาพ

» เทคนิคการทำโฟโต้สเก๊ตชิ่ง

» การสำเนาภาพ

» วิธีใช้แท่นถ่ายสำเนา

» การนำภาพออกแสดง

» หลักการถ่ายภาพให้ได้ภาพสีที่ดี

» วิธีการถ่ายภาพให้ได้ภาพที่คมชัด

» หลักในการถ่ายภาพกลางแจ้ง

» เสนอแนะงานถ่ายภาพ

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย