ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ >>
ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาปรัชญา
ทัศนะของอริสโตเติ้ล (Aristotle)
อริสโตเติ้ลถือว่าวิญญาณเป็นเนื้อสารทางจิต แต่มีลักษณะแตกต่างจากเพลโต้
โดยที่เพลโต้ถือว่าวิญญาณมาจากโลกแห่งความคิด แล้วถูกขังอยู่ในร่างกาย
เมื่อหลุดพ้นจากร่างกายแล้วจะกลับไปสู่โลกแห่งความคิดอีก
ส่วนอริสโตเติ้ลถือว่า วิญญาณไม่ได้ถูกขังอยู่ในร่างกาย
วิญญาณเป็นเพียงรูปแบบที่ทำหน้าที่จัดระบบร่างกาย
วิญญาณกับร่างกายมีสัมพันธภาพอย่างใกล้ชิด ร่างกายเป็นเพียงเครื่องมือของวิญญาณ
วิญญาณอาจมีอยู่ในลักษณะหยุดนิ่งโดยไม่มีร่างกายก็ได้
แต่จะมีอยู่ในลักษณะทำหน้าที่โดยไม่มีร่างกายไม่ได้
อริสโตเติ้ล ได้ให้เหตุผลว่าวิญญาณประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ
คือส่วนที่ทำหน้าที่รับรู้ ส่วนที่บังคับร่างกายให้ทำพฤติกรรมและส่วนที่มีเหตุผล
วิญญาณส่วนที่มีเหตุผลยังแบ่งเป็น 2
ฝ่ายคือเหตุผลฝ่ายที่หยุดนิ่งกับเหตุผลฝ่ายที่ทำหน้าที่
วิญญาณส่วนที่ทำหน้าที่รับรู้ ส่วนที่บังคับร่างกายให้ทำพฤติกรรม
และวิญญาณส่วนที่มีเหตุผลที่หยุดนิ่ง จะต้องตายไปพร้อมกับร่างกาย
เมื่อร่างกายแตกสลาย เพราะขึ้นอยู่กับร่างกาย
วิญญาณส่วนที่มีเหตุผลฝ่ายที่ทำหน้าที่เท่านั้นเป็นอมตะ เพราะเป็นพลังงานล้วน ๆ
และเป็นสิ่งเดียวกับพระเจ้า ซึ่งเป็นนิรันดร
ความหมายของปรัชญา
การนิยามความหมายของนักปรัชญา
ระบบปรัชญา
สาขาปรัชญา
อภิปรัชญาคืออะไร
ความหมายของอภิปรัชญา
ความเป็นมาของอภิปรัชญา
ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ
บ่อเกิดแนวความคิดทางอภิปรัชญา
หน้าที่ของอภิปรัชญา
ลักษณะและขอบเขตของอภิปรัชญา
ทฤษฎีทางอภิปรัชญา
ทฤษฎีสสารนิยม
ทฤษฎีจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยม
ทฤษฎีทวินิยม
ทฤษฎีพหุนิยม
อภิปรัชญาว่าด้วยเอกภพ หรือธรรมชาติ
ทัศนะฝ่ายจิตนิยม
วิวัฒนาการของจิตนิยม
ทฤษฎีเอกนิยมฝ่ายจิตนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายจิตนิยม
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
จิตนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
จิตนิยมในปรัชญาอินเดีย
ทัศนะฝ่ายสสารนิยม
ทฤษฎีพหุนิยมฝ่ายสสาร
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันตก
สสารนิยมทัศนะอภิปรัชญาตะวันออก
ทัศนะฝ่ายธรรมชาตินิยม
ลักษณะและธรรมชาติของชีวิต
อภิปรัชญาว่าด้วยจิต หรือวิญญาณ
ความหมายของจิต มโน หรือวิญญาณ
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันตก
การนิยามความหมายของฝ่ายตะวันออก
ธรรมชาติของจิต มโน หรือวิญญาณ
วิญญาณเป็นพลังงาน
เจตจำนงเสรี (Free Will)
ความสัมพันธ์ระหว่างกายกับจิต
อมฤตภาพของวิญญาณ
ลัทธิเพลโต้ในทางอภิปรัชญา
ทัศนะของอริสโตเติ้ล (Aristotle)
ทัศนะของเบริ์คเล่ย์ (Berkeley)
อภิปรัชญาว่าด้วยพระเจ้า หรือสิ่งสัมบูรณ์
พระเจ้าคืออะไร
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับพระเจ้า
เทววิทยา
พิสูจน์ความมีอยู่ของพระเจ้า
เหตุผลทางจักรวาลวิทยา
เหตุผลทางเจตจำนง หรือวัตถุประสงค์
เหตุผลทางภววิทยา
เหตุผลทางจริยธรรม
นักปรัชญาฝ่ายอเทวนิยม (Atheism)
ทฤษฎีการสร้างโลก
จักรวาลวิทยา
ทัศนะของนักปรัชญาเกี่ยวกับพระเจ้า
บรรณานุกรม