ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
วิวัฒนาการของศิลปะไทย
โดย อาจารย์ศิริวัฒน์ นารีเลิศ
ศิลปะไทย หมายถึง
ผลงานที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มชนที่มีถิ่นฐานบนผืนแผ่นดินที่เรียกว่า
สุวรรณภูมิหรือสยามประเทศ มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นับเป็นวัฒนธรรมของชาติไทย
ซึ่งมักจะปรากฏในสมุดข่อย ผนังตู้พระธรรม ผนังอาคาร เพดาน หรือเสาของพระอุโบสถ ศาลา
ตลอดจนตามอาคารสถานที่โดยทั่วไป แม้กระทั่งในงานปูนปั้นและงานแกะสลัก
รวมทั้งลายที่แฝงอยู่ในเครื่องใช้ไม้สอยต่าง ๆ
ผลงานศิลปะของไทยนั้นส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องอยู่กับศาสนาและการดำเนินชีวิตประจำวัน
ที่เราเรียกว่า ศิลปหัตถกรรม ประณีตศิลป์ หรือมัณฑนศิลป์ (ศิลปะประยุกต์)
โดยในระยะแรกนั้นงานศิลปะไทยจะได้รับอิทธิพลมาจากศิลปวัฒนธรรมและศาสนามาจากอินเดีย
แต่ก็ได้มีการพัฒนาจนมีเอกลักษณ์เป็นแบบของไทยโดยเฉพาะ
ลักษณะงานศิลปะของไทยนั้นจะมีความสัมพันธ์กับหน้าที่ใช้สอยผสมผสานกับความเชื่อและจินตนาการที่ได้รับแรงบันดาลใจจากธรรมชาติ
ศาสนา สังคม และสภาพแวดล้อม
วิวัฒนาการของงานศิลปะไทย
ลักษณะของงานศิลปะไทย
คุณค่าของศิลปะไทย
การอนุรักษ์ศิลปะไทย
ศิลปะลายไทย
ความเป็นมาของลายไทย
ลักษณะของลวดลายไทยแบ่งตามกรรมวิธีการสร้างสรรค์
รูปแบบของลายไทย
ลวดลายไทย
ลายไทยในสถาปัตยกรรม
ภูมิปัญญาไทย
ลักษณะของภูมิปัญญาไทย
ความสำคัญของภูมิปัญญาไทย
ประเภทของภูมิปัญญาไทย
ความสัมพันธ์ของทัศนศิลป์ภูมิปัญญาไทยกับการดำรงชีวิต
งานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน
ประเภทของงานศิลปหัตถกรรม
คุณค่าของงานหัตถกรรม
บรรณานุกรม