ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
อัตลักษณ์
อัตลักษณ์ร่วมกันของการแสดงหุ่นกระบอกที่ปรากฏและเด่นชัดประกอบด้วย ศีรษะหุ่นกระบอกที่แกะสลักจากไม้ที่มีลักษณะเบา เช่น ไม้ทองหลาง ไม้แคป่า ไม้นุ่น ลงรักปิดทองประดับพลอยซึ่งเป็นศีรษะหุ่นกระบอกรุ่นเก่าที่ตกทอดมา ศีรษะหุ่นกระบอก รุ่นใหม่จะทำด้วยการหล่อเรซิ่นเป็นศีรษะหุ่นกระบอกและมีหน้าตาที่คมชัดได้รูปและลงสีปิดทองประดับพลอย หุ่นกระบอกทุกตัวแต่งกายเลียนแบบการแสดงโขน ละคร ฉากของการแสดงหุ่นกระบอกเป็นฉากผืนเดียวมีประตูเข้าและออกของตัวหุ่นกระบอกทั้งสองข้าง คนเชิดหุ่นกระบอก รุ่นเก่าเป็นผู้สูงอายุ และมีอุปกรณ์การแสดงประกอบเพื่อความสมจริง มีเครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงหุ่นกระบอกคือ ซออู้ เรื่องที่แสดงเป็นวรรณคดีไทยแต่ที่นิยมคือเรื่อง พระอภัยมณี
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก