ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย จังหวัดนครสวรรค์
เป็นหุ่นกระบอกคณะแรกของเมืองไทยที่มีประวัติสืบทอดมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5
หรือเมื่อประมาณ 100 ปีที่แล้ว
โดยมีนายเหน่งเป็นเจ้าของหุ่นกระบอกและได้ถ่ายทอดการเชิดหุ่นให้แก่ลูกหลาน
เดิมมีชื่อคณะว่า หุ่นครูเหน่ง
แต่ได้เปลี่ยนชื่อคณะตามเจ้าของหุ่นผู้ได้รับการสืบทอดเป็น หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง
อ่อนละม้าย ตั้งแต่คราวไปแสดงยังศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ในงานมหรสพหุ่นไทย
เมื่อปีพ.ศ. 2535 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก