ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกกรมศิลปากรถือกำเนิดขึ้นในพ.ศ.2522
เมื่อกรมศิลปากรได้รับเชิญจากคณะกรรมการงานแสดงระหว่างประเทศ
ซึ่งได้จัดให้มีการประชุมและอภิปรายในหัวข้อเรื่อง
บทบาททางสังคมและความหมายที่แสดงออกเกี่ยวกับหุ่นของประเทศในเอเชีย ณ
เมืองทัชเค้นท์ สหภาพโซเวียต
กรมศิลปากรจึงอนุมัติให้จัดแสดงหุ่นกระบอกเรื่อง พระอภัยมณี
ตอนหนีนางผีเสื้อสมุทร โดยมอบให้ศิลปินรวม21 คน เดินทางไปร่วมอภิปรายและสาธิต
พร้อมทั้งเผยแพร่ศิลปะการเชิดหุ่นกระบอกให้คณะหุ่นจากประเทศต่างๆในเอเชีย อาทิ
เวียดนาม อินเดีย ฟิลิปปินส์ ฯลฯ และคณะหุ่นอีก 8 รัฐจากเจ้าของประเทศ
หลังจากนั้นหุ่นกระบอกของกรมศิลปากรได้มีการพัฒนาเรื่อยมา รวมทั้งจัดทำบทใหม่
สิบทอดวิธีเชิดหุ่นให้แก่ศิลปินรุ่นต่อมา
เพื่อเผยแพร่ศิลปะการเชิดหุ่นแก่ประชาชนทั่วไปทั้งภายในและภายนอกประเทศ
และในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ณ พระเมรุมาศ ท้องสนามหลวง กรมศิลปากรได้จัดแสดงหุ่นกระบอกเรื่อง พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสื้อไปจนถึง สุดสาครปราบชีเปลือย ใช้เวลาเชิดถึง 9 ชั่วโมง
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก