ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>

หุ่นกระบอก

นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7

โรงหุ่นกระบอก

แต่เดิมการสร้างโรงหุ่นกระบอกนั้น ผู้เป็นเจ้าภาพที่หาหุ่นไปแสดงจะเป็นคนปลูกสร้างเอาไว้ รอรับการแสดงของคณะหุ่น เมื่อคณะหุ่นมาถึงก็สามารถแขวนฉากและติดตั้งอุปกรณ์การแสดงต่างได้ทันที

โดยทั่วไปโรงของหุ่นกระบอกมีลักษณะดังนี้

  1. มีความสูงจากพื้นดินประมาณช่วงคน เพื่อให้คนยืนดูก็ได้ นั่งดูก็ได้โดยไม่บังกัน และไม่รบกวนตัวหุ่นที่กำลังแสดง         
  2. ความยาวหน้าโรงประมาณ 7 เมตร
  3. ความสูงจากพื้นโรงถึงหลังคาโรงหุ่นประมาณ 3.50 เมตร
  4. ความลึกจากหน้าโรงถึงหลังโรง ซึ่งเป็นที่นั่งของคนเชิด วงดนตรีปี่พาทย์ คนขับร้อง และสัมภาระต่างๆไม่ควรน้อยกว่า 5 เมตร            

อย่างไรก็ตาม หลักฐานจากภาพจิตรกรรมฝาผนังและภาพถ่ายเก่าของโรงมหรสพตามช่องระทา ในงานสมโภชและงานพระเมรุต่างๆแสดงให้เห็นว่า โรงมหรสพเหล่านั้นมีหลังคามุงจาก หรือไม่ก็มุงแฝก มีช่อฟ้าอยู่บนยอดจั่วทั้งสองข้าง และมีปีกนกยื่นออกมาตลอดความยาวของหน้าโรง เพื่อป้องกันแดดลมและฝน รวมทั้งมีเสาไม้ไผ่ปักจากดินรอบรับปีกนกนี้ประมาณ 6 เสา

หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย