ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
ลักษณะหุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกที่ใช้แสดงในปัจจุบันสันนิษฐานว่าสร้างขึ้นโดยอาศัยกรรมวิธีการสร้างหุ่นกระบอกตามแบบหุ่นซึ่งหม่อมราชวงศ์เถาะ พยัคฆ์เสนาได้คิดประดิษฐ์ดัดแปลงขึ้นกล่าวคือ ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 4 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ ศีรษะหุ่น ลำตัว มือและเสื้อผ้าเครื่องประดับต่างๆ ในจำนวนส่วนประกอบของหุ่นกระบอกนั้น ส่วนที่เลียนแบบอวัยวะของคนจริงๆมีเพียงส่วนศีรษะและมือทั้งสองข้างเท่านั้น ส่วนลำตัวจะใช้กระบอกไม้ไผ่ทั้งปล้องสวมตั้งแต่คอลงมา เราจึงเรียกหุ่นแบบนี้ว่า หุ่นกระบอก
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก