ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
หุ่นจางวางทั่ว
จางวางทั่ว พาทย์โกศล เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2419 นอกจากจะมีวงดนตรีปี่พาทย์ พาทย์โกศล ออกเล่นรับงานแล้ว จางวางที่ยังมีคณะหุ่นกระบอกที่มีชื่อเสียงออกเล่นรับงานในยุคที่ความนิยมชมชอบหุ่นกระบอกเป็นเครื่องมหรสพยังเฟื่องฟูอยู่อีกด้วย ลักษณะหุ่นกระบอกของจางวางทั่วแตกต่างจากหุ่นกระบอกของคณะอื่นๆเพียงเล็กน้อย กล่าวคือหุ่นประกอบจางวางทั่วประกอบด้วยฝีมือช่างหลายฝีมือ จักรพันธุ์ โปษยกฤต สันนิษฐานว่า หัวหุ่นกระบอกที่ใช้เล่นในเรื่องละคร เช่นหน้าลาว หน้ากุมาร และอีกหลายหน้าเป็นฝีมือสกุลช่างเดียงกันกับหุ่นกระบอกของผู้ใหญ่ปั้น ที่โรงเรียนวัดนายโรงปัจจุบัน ปัจจุบันหุ่นกระบอกจางวางทั่วยังคงอยู่ครบบริบูรณ์ และอยู่ในสภาพดีเก็บรักษาไว้ ณ บ้านพาทย์โกศล
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก