ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
หุ่นนายวิง
หุ่นกระบอกนายวิงเป็นหุ่นที่เกิดขึ้นในยุคสมัยเดียวกับหุ่นกระบอกของหม่อมราชวงศ์เถาะ
หุ่นพระองค์สุทัศน์ และหุ่นจางวางต่อ นายวิงได้สมรสกับบางต่วน
ผู้เป็นพี่สาวแท้ๆของนายเปียก ประเสริฐกุล นายวิงเชิดหุ่นกระบอกไม่เป็น
จึงเป็นโต้โผเจ้าของคณะหุ่นกระบอกเท่านั้น
หุ่นกระบอกของนายวิงมีลักษณะพิเศษที่แปลกแตกต่างไปจากหุ่นกระบอกของคณะอื่นๆ
คือเป็นหุ่นกระบอกคณะเดียวที่ใช้มือขวาของคนเชิดจับแกนไม้กระบอกยกตัวหุ่นเชิด
ส่วนมือซ้ายใช้จับตะเกียบ
ซึ่งเป็นลักษณะการเชิดหุ่นกระบอกที่ตรงข้ามกับการเชิดของคณะอื่น
ปัจจุบันไม่มีหลักฐานใดๆแสดงให้เห็นว่าหุ่นกระบอกคณะนายวิงตกอยู่กับผู้ใด.
หุ่นพระยาสุนทรฯ หุ่นกระบอกของพระยาสุนทรเทพระบำ (เปลี่ยน
สุนทรนัฎ) เป็นปลัดกรมมหรสพในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ตัวหุ่นกระบอกของพระยาสุนทรฯ
ปัจจุบันได้รับการเก็บรักษาไว้ในพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
เช่นหุ่นกระบอกพระอภัยมณีและนางเงือก มีถ้อยคำจารึกว่า พระยาสุนทรเทพฯระบำให้
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก