ศิลปะ หัตถกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม สันทนาการ >>
นาวสาวนภัสวรรณ บุญนิธี หลักสูตรและการสอน รุ่น 7
หุ่นไทย
หุ่นเป็นมหรสพชนิดหนึ่งของไทยที่ใช้รูปจำลองเหมือนของจริงหรือใช้ตุ๊กตาแสดงแทนตัวคน
และเคลื่อนไหวได้ด้วยการเชิดชักหรือบังคับ การเล่นหุ่นของชาวไทยมีมาช้านาน
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ทำให้ทราบว่าการเล่นหุ่นเริ่มมีขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
เมื่อประมาณปี พ.ศ.2171-พ.ศ.2246 หรืออยู่ในสมัยอยุธยาตอนกลางนั่นเอง
ส่วนในสมัยอยุธยาตอนต้น (พ.ศ.1901) มหรสพที่ได้รับความนิยมคือ หนังและระบำ
ทั้งนี้เนื่องจากมีหลักฐานปรากฏในหนังสือของทางราชการคือ กฎมณเฑียรบาล
ประกาศใช้เมื่อจุลศักราช 320 หรือ พ.ศ.1901 ในรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
(สมเด็จพระเจ้าอู่ทอง)
หุ่นไทย
สมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ.2121-2246)
สมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ.2246-พ.ศ.2310)
สมัยกรุงธนบุรี (พ.ศ.2310-พ.ศ.2325)
สมัยรัตนโกสินทร์
หุ่นของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ
กำเนิดของหุ่นกระบอก
หุ่นนายวิง
หุ่นจางวางต่อ
หุ่นจางวางทั่ว
หุ่นกระบอกนายเปียก
หุ่นนายเบี้ยว
หุ่นกระบอกนายปั้น
ลักษณะหุ่นกระบอก
ศีรษะหุ่น
ลำตัวหุ่นกระบอก
มือของหุ่นกระบอก
เสื้อผ้าและเครื่องประดับของหุ่นกระบอก
วิธีเชิดหุ่นกระบอก
การโหมโรง
การแสดง
การบรรเลงและการขับร้อง
การพากย์หุ่น
โรงหุ่นกระบอก
ฉากหุ่นกระบอก
เครื่องประกอบฉาก
เรื่องหุ่นกระบอกที่นิยมแสดง
โอกาสในการแสดงหุ่นกระบอก
การบูชาครูก่อนการแสดงหุ่น
การบูชาครูของวงปี่พาทย์ก่อนการแสดงหุ่น
ความเชื่อและประเพณีในการแสดงหุ่น
หุ่นกระบอกคณะครูชื้น สกุลแก้ว
หุ่นกระบอกของจักรพันธุ์ โปษยกฤต
หุ่นกระบอกกรมศิลปากร
หุ่นกระบอกคณะรอดศิรินิลศิลป์
หุ่นกระบอกสมุทรสงคราม
หุ่นกระบอกคณะแม่เชวง อ่อนละม้าย
หุ่นกระบอกเพชรบุรี
หุ่นกระบอกคณะเพชรหนองเรือ
อัตลักษณ์
วิกฤตของหุ่นกระบอกในปัจจุบัน
แนวทางการอนุรักษ์ฟื้นฟูหุ่นกระบอก