เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ วิศวกรรม เกษตรศาสตร์ >>
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการฐานข้อมูลขององค์การทางการศึกษา
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการฐานข้อมูล (Database Management)
ขององค์การทางการศึกษาจะก่อให้เกิดผลดีหลายประการ เช่น
ได้ฐานข้อมูลที่มีความเบ็ดเสร็จในตัวเอง มีการแยกการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ
โดยผู้ใช้ไม่ต้องทำการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการบรรจุรวบรวมข้อมูลอีก
ใช้ได้กับผู้ใช้บริการหลายกลุ่มและลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลเพราะสามารถใช้ร่วมกันได้
ขจัดความไม่ตรงกันของข้อมูล
ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลและควบคุมการใช้ข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน
สามารถกำหนดมาตรการในการควบคุมและเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลได้
มีการกำหนดมาตรฐานข้อมูลไว้ตายตัวเป็นแนวเดียวกันและทำให้ข้อมูลทุกด้านมีความสัมพันธ์กัน
เป็นต้น
ตัวอย่างของรายการฐานข้อมูลด้านทรัพยากรมนุษย์ของสถาบันการศึกษา เช่น
ข้อมูลพนักงาน : ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัว ตำแหน่ง สถานภาพสมรส ฯลฯ เงินเดือน :
จำนวนชั่วโมงในที่ทำงาน อัตราการว่าจ้าง เงินเดือนทั้งหมด หักภาษี จ่ายสุทธิ ฯลฯ
สวัสดิการ : ประกันชีวิต โครงการบำเหน็จบำนาญ การวางแผนประกันสุขภาพ การออกจากงาน
ฯลฯ
การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน
นวัตกรรมการศึกษามวลชน
ความจำเป็นในการใช้สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา
สื่อมวลชนกับการศึกษาในระบบโรงเรียน
ความแตกต่างระหว่างสื่อมวลชนกับระบบโรงเรียน
สื่อมวลชนกับการศึกษานอกระบบโรงเรียน
สื่อมวลชนกับการศึกษาตามปกติวิสัย
เนื้อหาทางการศึกษาของสื่อมวลชน
ปัจจัยสนับสนุนการใช้สื่อมวลชนเพื่อการศึกษา
สื่อมวลชนศึกษา (Media Education)
แนวทางในการจัดหลักสูตรสื่อมวลชนศึกษา
นวัตกรรมการศึกษารายบุคคล
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการฐานข้อมูลขององค์การทางการศึกษา
การใช้เทคโนโลยีช่วยสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหารองค์การทางการศึกษา
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารองค์การทางการศึกษา
การใช้เทคโนโลยีเสริมสร้างคุณภาพองค์การทางการศึกษา
การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรฯ
การพัฒนาบุคลากรด้วยการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น
การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาโดยการสัมมนา
การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาโดยการศึกษาดูงาน
รูปแบบการแพร่นวัตกรรมและกระบวนการตัดสินใจ
ลักษณะที่สำคัญบางประการของการแพร่กระจายนวัตกรรม
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
กระบวนการตัดสินใจนวัตกรรม (Innovation decision process)
การยอมรับนวัตกรรม
ปัจจัยเกี่ยวกับลักษณะของนวัตกรรม
ปัจจัยเกี่ยวกับผู้รับนวัตกรรม
ปัจจัยทางด้านระบบสังคม (social system)
การปฏิเสธและการยอมรับนวัตกรรม