สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>

พัฒนาการสังคมไทย
ดุจฤดี คงสุวรรณ์

สังคมเมือง

เมืองในลักษณะทางสังคมไทยและต่างประเทศ มีลักษณะแตกต่างกัน ชนบทและเมืองในบางประเทศ มีความแตกต่างกันไม่มากนัก เพราะความเจริญทางอุตสาหกรรม ตลาด ร้านค้า แพร่เข้าไปทุกแห่งของพื้นที่ อย่างไรก็ตามลักษณะเด่นของเมืองในประเทศไทย มีลักษณะเฉพาะที่ต่างจากชนบท เช่น

  • มีความสะดวกสบายในด้านการคมนาคมขนส่ง การสื่อสารมากกว่าชนบท
  • มีความสะดวกสบายในด้านการคมนาคมขนส่ง การสื่อสารมากกว่าชนบท
  • มีสถาบันทางเศรษฐกิจ สังคม ตั้งอยู่มากกว่าชนบท รวมทั้งที่ทำการสำคัญ ๆ ของรัฐบาล
  • มีการพึ่งพาอาศัยกันน้อยกว่าในชนบท เพราะสามารถพึ่งตนเองได้ โดยเฉพาะการอุปโภคบริโภค
  • การสนิทสนมในกลุ่มพี่น้อง เครือญาติน้อยกว่าในชนบท
  • ชาวเมืองมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนา สังคมน้อยกว่าชนบท
  • ในชุมชนเมืองมีความเคลื่อนไหว กระตือรือร้นสูงกว่าชนบท
  • การแบ่งชนชั้นทางสังคมด้วยฐานะทางเศรษฐกิจ ตำแหน่งหน้าที่สูงกว่าชนบท
  • ชุมชนเมืองมีสภาพแวดล้อมทางทรัพยากรธรรมชาติที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตน้อยกว่าชนบท
  • สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมของชุมชนเมืองมีอิทธิพลน้อยกว่าในชนบท ซึ่งเป็นตัวกำหนดบุคลิกภาพ

» วิวัฒนาการทางสังคมไทย

» สมัยทวารวดี

» สมัยศรีวิชัย

» สมัยลพบุรี

» สมัยหริภุญไชย

» สมัยล้านนา

» สมัยสุโขทัย

» สมัยกรุงศรีอยุธยา

» สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

» สังคมไทยสมัยใหม่

» การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

» สังคมไทยในยุคโลกาภิวัตน์

» สังคมไทยในภาคเหนือ

» สังคมไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

» สังคมไทยในภาคกลาง

» สังคมไทยในภาคใต้

» สังคมเมือง

» การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของสังคมเมืองและสังคมชนบท

» การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสังคมชนบทในภาคเหนือ

» การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสังคมชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

» การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสังคมชนบทในภาคใต้

» การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสังคมชนบทในภาคกลาง

» ปัญหาสังคมและแนวทางแก้ไข

» ลักษณะของปัญหาสังคม

» สาเหตุของการเกิดปัญหาสังคม

» แนวทางในการศึกษาปัญหาสังคม

» ปัญหายาเสพติด

» ปัญหาคอร์รัปชั่น

» ปัญหาความยากจน

» ปัญหาการแพร่กระจายของโรคเอดส์

» ด้านการศึกษาและสังคม

» ปัญหาเด็กและเยาวชน

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย