ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>

คัมภีร์ทักษา

สารบัญชื่อหมวด ส

สกล – พร้อมพรัก
สกลสุภา – งามทั้งหมด
สขิล – อ่อนหวาน
สขิลา – นุ่มนวล
สถิต – ดำรงอยู่
สถิตคุณ – มีความดีมั่นคง
สนันตน์ – ยั่งยืนนาน
สพล – มีพลัง
สพลดนัย – ลูกชายมีพลัง
สมเกียรติ – ควรแก่การสรรเสริญ
สมจิต – ได้ผลดังใจ
สมจินต์ – ได้ผลดังคิด
สมใจ – สัมฤทธิ์ผลดังหวัง
สมปราชญ์ – นักปราชญ์ผู้สงบ
สมศีล – ผู้มีศีลสม่ำเสมอ
สมัชญ์ – มีชื่อเสียง
สมัตถ์ – ผู้สามารถ
สมิดา – ยิ้มแย้ม แป้ง
สมิตา – ยิ้มแย้ม แป้ง
สมิตานัน – มีใบหน้ายิ้มแย้มเบิกบาน
สรชัช – นักรบผู้วิเศษ
สรชา – เกิดในสระ ดอกบัว
สรณ์ – ที่พึ่ง ที่ระลึก
สรณ์สิริ – มีที่พึ่งดียิ่ง
สรณีย์ – ผู้ควรระลึกถึง
สรธร – ผู้ทรงไว้ซึ่งสิ่งวิเศษ
สรนันท์ – มีความยินดีเป็นเลิศ
สรพัศ – มีอำนาจอันวิเศษยิ่ง
สรภัส – มีความเร็ว
สรลิช – ดอกบัว
สรวรรณ – มีผิวพรรณวิเศษ
สรวิชญ์ – นักปราชญ์ผู้ดียิ่ง
สรวิศ – ผู้มีอำนาจเหนือคนทั้งปวง
สรวีย์ – ผู้เหมาะแก่กิจการทั้งปวง
สีสิช – เกิดในสระ ดอกบัว
สรัช - เกิดในสระ ดอกบัว
สรัล – ต้นสน ซื่อตรง
สรัลชนา – คนผู้ซื่อตรง
สรัลนุช – หญิงผู้ซื่อตรง
สรัลพร – ผู้ซื่อตรงอย่างประเสริฐ
สราวลี – แถวลูกศร
สริกข์ – คล้ายคลึง
สริดา – ผู้ที่เข้าถึงสายน้ำ
สริต – ผู้ที่เข้าถึง สายน้ำ
สริตา – ผู้ที่เข้าถึง สายน้ำ
สริมน – ลม อากาศ
สโรชา – เกิดในสระ ดอกบัว
สโรชิน - เกิดในสระ ดอกบัว
สลิลทิพย์ – น้ำทิพย์
สวภาว์ – ภาวะของตนเอง
สวรส – มีรสนิยมเป็นของตน
สวรินทร์ – จอมสวรรค์
สวิตต์ – มีทรัพย์สมบัติ มีเงินทอง
สหทัย – ร่วมใจ เห็นใจกัน
สหัพย์ – มิตรสหาย
สังวรา – ควบคุมตนเองได้
สังวรี – ราตรี
สังวุตา – สำรวม ระมัดระวัง
สังสิต – ได้รับการสรรเสริญ
สังสิทธิ์ – ความสำเร็จ
สัชฌุกร – ช่างเงิน
สัญจิต – สะสม รวบรวม
สัญจิตา – สะสม รวบรวม
สัณหเจต – มีความคิดละเอียดอ่อน
สัณหณัฐ – นักปราชญ์ผู้เละเอียดอ่อน
สัณหพจน์ – พูดจาดี ไพเราะ
สัณหพร – สุภาพ นิ่มนวลอย่างยิ่ง
สัณห์พิชญ์ – นักปราชญ์ผู้ละเอียดอ่อน
สัณหภาส – ผู้พูดไพเราะ
สันหรส – มีรสนิยมละเมียดละไม
สัณห์ฤทัย – มีจิตใจละเอียดอ่อน จิตใจงาม
สัณหวัช – พูดเพราะ พูดดี
สัณห์สมร – สาวงามผู้ละเอียดอ่อน
สัญห์สินี – นางงามผู้ละเอียดอ่อน
สัณห์สิรี – ผู้นิ่มนวลและเป็นมิ่งขวัญ
สันต์ทศน์ – มีทัศนะอันสงบ
สันต์ภพ – ผู้ที่สงบในโลก
สันต์ฤทัย – มีใจสงบ
สันธิลา – แม่น้ำ
สันนดี – เสียงนมัสการ
สันนิธ – ใกล้
สันนิภา – คล้าย
สัภยา – ผู้มีตระกูลสูง ซื่อสัตย์
สาธกา – ให้สำเร็จประสงค์
สาธนี – ให้สำเร็จประโยชน์
สาธวี – มีความดี
สาธิก – ผู้ให้สำเร็จประโยชน์
สาธิกา – ผู้ให้สำเร็จประโยชน์
สาธิดา – ผู้ให้สำเร็จสมประสงค์
สาธิตา – ผู้ให้สำเร็จสมประสงค์
สาธิน – ผู้ทำอะไรได้รับความสำเร็จ
สาธินี – ให้สำเร็จ
สาธิมา – ความดี
สารท – ฤดูสารท
สารนิจ – มีสาระเนืองนิจ
สารนิช – มีสาระเป็นของตนเอง
สารนิติ – มีแบบแผนเป็นสาระ
สารัช – ผู้เกิดจากแก่นสาร
สารัมภ์ – การแข่งขัน การริเริ่ม
สาริกข์ – คล้ายคลึง แม้นเหมือน
สาริทธิ์ – ความสำเร็จแห่งแก่นสาร
สาริน – ผู้ก้าวไปข้างหน้า ผู้มีแก่นสาร
สารินท์ – เจ้าแห่งสาระ
สาริศ – เจ้าแห่งแก่นสาร เจ้าแห่งสาระ
สาริศา – เจ้าแห่งแก่นสาร
สาลินี – ชื่อฉันท์ชนิดหนึ่ง
สาวิตรี – คำสดุดีพระอาทิตย์
สาวินี – แม่น้ำ
สิงควรรณ – ผิวเหมือนทอง งามผุดผ่อง
สิงหนาท – เสียงดังเป็นที่น่าเกรงขาม
สิดาพร – ขาวนวลงามอย่างประเสริฐ
สิตานัน – มีใบหน้ายิ้มแย้มเบิกบาน
สิทธา – ผู้มีชื่อเสียง
สิทธิกร – ผู้ให้ความสำเร็จ
สิทธินันท์ – ยินดีในความสำเร็จ
สิทธิพล – มีพลังแห่งความสำเร็จ
สินมหัต – มีทรัพย์สินมาก
สินิทธ์ – สนิทชิดเชื้อ
สินี – สาวผู้มีผิวงาม
สิปปกร – ศิลปิน
สิปปภาส – รุ่งเรืองด้วยศิลปะ
สิปปวิชญ์ – เชี่ยวชาญในศิลปะ
สิปโปทัย – รุ่งเรืองด้วยศิลปะ
สิรดนัย – ลูกชายผู้เป็นยอด
สิรธีร์ – นักปราชญ์ชั้นยอด
สิรภพ – เป็นยอดในโลก เกิดมาเพื่อเป็นยอด
สิรภัทร – ผู้เป็นยอดและดีงามเป็นเลิศ
สิรวัชญ์ – นักปราชญ์ผู้เป็นยอด
สิรามล – ยอดแห่งผู้ประเสริฐ
สิรารมย์ – เป็นที่น่ารื่นรมย์อย่างยอดเยี่ยม
สิราวรรณ – มีผิวพรรณเลิศ
สิริกร – สร้างสิริมงคล
สิรินดา – ผู้น้อมไปด้วยสิริมงคล
สิรินทรา – มีมิ่งขวัญอันยิ่งใหญ่
สิริภาส – รุ่งเรืองด้วยศิลปะ
สิริยุพน – มีความสาวอันเป็นมิ่งขวัญ
สิริวิมล - บริสุทธิ์เป็นมิ่งขวัญ
สิรีธร – ทรงไว้ซึ่งมิ่งขวัญ
สิโรธร – คอ
สีตลา – เย็นสนิท เยือกเย็น
สีวิกา – เสลี่ยง คานหาม
สุกนต์ธี – มีปัญญาเป็นที่ปรารถนายิ่ง
สุกฤต – ทำมาดี สร้างมาดี
สุกฤตา – ผู้สร้างสรรค์มาดี กุศล ความเลื่อมใส
สุกฤษฏิ์ – นักปราชญ์ที่ดี
สุกัลย์ – ผู้มีความสามารถดี
สุขทา – ผู้ให้ความสุข
สุขรดา – ผู้ยินดีในความสุข
สุขิต – ผู้มีความสุข
สุขุมฉวี – มีผิวพรรณละเอียดอ่อน
สุจารี – ผู้มีความประพฤติดี
สุจิณณา – ผู้ประพฤติดีแล้ว
สุจิรา – ยืนยาวยิ่ง
สุชญา – ผู้รู้ดี
สุชัจจ์ – ผู้มีเชื้อสายดี เกิดมาดี
สุชัญญา – ประเสริฐยิ่ง ผู้รู้ยิ่ง
สุชาครีย์ – มีความเพียรอย่างยิ่ง
สุชานารี – สตรีผู้เกิดมาดี
สุชานันท์ – มีกำเนิดดี เกิดมาดี
สุชานาฏ – หญิงสาวเกิดมาดี
สุชานาถ – หญิงผู้เกิดมาดีและเป็นที่พึ่ง
สุชานุช – หญิงสาวผู้เกิดมาดี
สุชาวดี – เชื้อสายผู้เกิดมาดี
สุชาวลี – เชื้อสายผู้มีสกุล
สุตนันท์ – ผู้ยินดีในความรู้ที่ได้เรียนมา
สุตาภัทร – ธิดาผู้ดีงาม
สุทธญาณ์ – มีความรู้อันบริสุทธิ์
สุทธดร – ผู้บริสุทธิ์กว่าคนอื่น
สุทธดา – ความบริสุทธิ์
สุทธนพ – ใหม่เอี่ยม
สุทธนุช – หญิงผู้บริสุทธิ์
สุทธภา – มีรัศมีบริสุทธิ์
สุทธวีร์ – บริสุทธิ์และกล้าหาญ
สุทธอร – ผู้บริสุทธิ์และดีงาม
สุทธันต์ – ห้องมเหสี ชายาพระราชา
สุทธิกา – มีความบริสุทธิ์
สุทธกานต์ – มีความบริสุทธิ์ที่น่าพอใจ
สุทธิฉันท์ – มีความพอใจ
สุทธิดา – ภาวะแห่งความบริสุทธิ์
สุทธิดา – ภาวะแห่งความบริสุทธิ์
สุทธินัย – มีแนวทางอันบริสุทธิ์
สุทธิพจน์ – มีคำพูดอันบริสุทธิ์
สุทธิภัทร – ดีงามด้วยความบริสุทธิ์
สุทัตตา – เกิดมาดี
สุทินา – วันดี วันเป็นสิริมงคล
สุธนี – มีเสียงดี
สุธา – ปูนขาว อิฐ น้ำดอกไม้
สุธางคุ์ – รัศมีขาว พระจันทร์ การบูร
สุธางคุ์รัตน์ – มุกดา ไข่มุก
สุธานิธิ – พระจันทร์
สุธามัย – สำเร็จด้วยอิฐ ปูน
สุธารส -  น้ำทิพย์ ราชาศัพท์หมายถึง น้ำชา
สุธาวัลย์ – ขาวงาม
สุธาวี – บริสุทธิ์
สุธาศิน – เทวดา
สุธาสิน – เทวดา
สุธาสินี – ผู้กินอาหารทิพย์
สุธินันท์ – ความยินดีของนักปราชญ์
สุธินี – นักปราชญ์
สุธิมนต์ – ผู้มีปัญญาดี
สุธิมา – ผู้ฉลาด
สุธีกานต์ – นักปราชญ์ผู้เป็นที่รัก
สุธีธิดา – ธิดาผู้ฉลาด
สุธีมนต์ – ผู้มีปัญญาดี
สุธีมา – นักปราชญ์
สุธีรา – นักปราชญ์
สุนิติ – มีระเบียบกฎเกณฑ์ที่ดี
สุประวีณ์ – ฉลาดอย่างยิ่ง
สุปวีณ์ – ฉลาดอย่างยิ่ง
สุพนิต – น่ารักยิ่ง
สุพศิน – มีความเชี่ยวชาญยิ่ง
สุพิชชา – มีความรู้ดี
สุพิฌาย์ - เพ่งพินิจอย่างดี
สุพิชญา – ฉลาดยิ่ง
สุภกิณห์ – ชื่อพรหมชั้นหนึ่ง
สุภคม – เข้าถึงความดีงาม
สุภชา – เกิดมาจากสิ่งดีงาม
สุภชีพ – ชีวิตที่ดีงาม
สุภทัต – ผู้ให้สิ่งที่ดีงาม
สุภนัย – นำไปสู่สิ่งที่ดีงาม
สุภนิช – มีความงามเป็นของตน
สุภนิดา – ได้รับการแนะนำในสิ่งที่ดีงาม
สุภวัทน์ – ใบหน้าสวย พูดดี
สุภัชชา – จำแนกอย่างดี
สุภัสสร – งามยิ่ง มีรัศมีเรืองรอง
สุภัสสรา – มีรัศมีงาม
สุภเวช – ผู้รู้ที่ดีงาม
สุภานัน – มีใบหน้าสวย ท่าทางดี
สุภาวิดา – อบรมมาดีแล้ว
สุภาวิตา – อบรมมาดีแล้ว
สุมน – ใจดี
สุมนา – ดอกไม้ ดอกมะลิ
สุมานัส – มีจิตใจดี
สุรชัช – นักรบผู้กล้า
สุรดา – ผู้ยินดีอย่างยิ่ง
สุรดิษ – มีโชคเหมือนเทวดา
สุรดี – ความยินดียิ่ง
สุรตา – ผู้ยินดีอย่างยิ่ง
สุรทิน – เทพประทาน
สุรธัช – เป็นเหมือนธงชัยบนสวรรค์
สุรนาถ – ชื่อของพระอินทร์
สุรนาท – เสียงองอาจกล้าหาญ
สุรนุช – สาวสวรรค์
สุรพศ – อำนาจของผู้กล้า
สุรพัศ – มีอำนาจดังเทวดา
สุรพิชญ์ – นักปราชญ์ผู้กล้า
สุรภา – รุ่งเรืองเหมือนเทวดา
สุรมณ – ความรื่นรมย์ยิ่ง
 สุรวินท์ – ดอกบัวงาม
สุรเสกข์ – นักศึกษาผู้กล้า
สุรอนงค์ – นางฟ้า
สุรัมภา – นางฟ้าที่ดี
สุรีย์นิภา – เหมือนพระอาทิตย์
สุโรตม์ – ผู้กล้าหาญยิ่ง
สุลลิต – งามยิ่ง
สุวชัช – นักรบผู้ดีเยี่ยม
สุวพัชร – ดีงามดุจเพชร
สุวพิชชา – มีความรู้ดีงาม
สุวพิชญ์ – นักปราชญ์ผู้ดีงาม
สุวภัทร – งามและเจริญ
สุวรา – ผู้ประเสริฐยิ่ง
สุวิจักขณ์ – ผู้ฉลาดยิ่ง
สุวิชาดา –เกิดมาดียิ่ง
สุวีร์ – กล้าหาญยิ่ง
สุวีรา – กล้าหาญดี
เสกข์ – นักศึกษา
เสฏฐวุฒิ – มีความเจริญดีเลิศ
เสาวนิต – รับสั่ง
เสาวภาคย์ – โชคลาภ
เสาวรส – มีรสดี อร่อย
เสาวลักษณ์ – เรือนร่างงดงาม
โสภนวิชญ์ – นักปราชญ์ผู้ดีงาม
โสภณัฐ – นักปราชญ์
โสภณา – งดงาม
โสมนัส – ปลาบปลื้ม
โสวรรณ – ผู้มีผิวทอง

หลักการตั้งชื่อของคัมภีร์ทักษา
ตารางทักษาประจำวัน
อักษรเดชสำหรับชาย
อักษรศรีสำหรับหญิง
อักษรกาลกิณี
สารบัญชื่อหมวด

วันอาทิตย์
วันจันทร์
วันอังคาร
วันพุธ
วันพฤหัสบดี
วันศุกร์
วันเสาร์
วันราหู(วันพุธกลางคืน)

 

แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย