สังคมศาสตร์ รัฐศาสตร์ การเมือง เศรษฐศาสตร์ >>
สังคมวิทยา
สังคมวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับคนในฐานะที่ไม่อยู่โดดเดี่ยวแต่อยู่รวมกับผู้อื่น สังคมวิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสภาพเงื่อนไขของสังคม ซึ่งมีผลต่อความสัมพันธ์ของผู้คนและปรากฏการณ์ทางสังคมต่าง ๆ ที่คนทำให้เกิดขึ้น สังคมวิทยาเป็นการศึกษาเพื่อหา คำอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดขึ้นว่า ทำไมจึงเกิดขึ้นหรือเป็นเช่นนั้น อย่างเช่น เมื่อเราเห็นผู้อพยพจากชนบทเข้าสู่เมือง ก็หาคำตอบและตั้งทฤษฎีว่า ทำไมคนจึงอพยพเข้าสู่เมือง
ลักษณะของสังคมวิทยา
» ประวัติความเป็นมาของสังคมวิทยา
» วิธีการศึกษาสังคมวิทยาแบบวิทยาศาสตร์
ลักษณะของสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
» ความหมายและความสำคัญของการจัดระเบียบทางสังคม
» การอบรมให้เรียนรู้ระเบียบของสังคม
» การกระทำทางสังคมและกระบวนการทางสังคม
กลุ่มสังคม (Social Groups)
» การจำแนกประเภทของกลุ่มทางสังคมวิทยา
สถาบันทางสังคม
» หน้าที่และความสำคัญของสถาบัน
การจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม (Social Stratification)
» ความหมายของการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
» รูปแบบการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
» เกณฑ์ในการจัดลำดับช่วงชั้นทางสังคม
วัฒนธรรมไทย
พฤติกรรมร่วม (Collective Behavior)
» พฤติกรรมร่วม (Collective Behavior)
» พฤติกรรมเบี่ยงเบน (Deviational Behavior)
» ความไม่เป็นระเบียบของสังคม (Social Disorganization)
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
» ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
» แบบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
» การเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับความไม่เป็นระเบียบทางสังคม
หน้าถัดไป >>
บรรณานุกรม
-
จรัญ พรหมอยู่. สังคมและวัฒนธรรมไทย.
-
จำนง อติวัฒนสิทธิ์, ดร. ประวัติแนวความคิดทางสังคม.
-
ปฬาณี ธิติวัฒนา. สังคมวิทยา.
-
พิเชฏฐ์ รัตนประทุม. ความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม (โครงการตำรา).
-
ณรงค์ เส็งประชา. พื้นฐานวัฒนธรรมไทย.
-
คณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา. สังคมวิทยา มานุษยวิทยา. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
-
ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม.
-
อุทัย หิรัญโต. หลักสังคมวิทยา.
-
ประสาท หลักศิลา.