ความรู้ทั่วไป สารนิเทศ การศึกษา คอมพิวเตอร์
เกร็ดความรู้ จากสารานุกรมไทย
สารานุกรมเป็นหนังสือ จัดอยู่ในประเภทหนังสือสำหรับค้นเช่นเดียวกับพจนานุกรม วัตถุประสงของการจัดทำหนังสือก็คือ ประการแรก จะต้องอธิบายอย่างย่อ ๆ และเข้าใจง่าย เพื่อให้ผู้อ่านซึ่งแม้จะไม่มีความรู้พิเศษเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ก็สามารถเข้าใจได้ทันที ประการที่สอง โดยมากมักจะมีการจัดระเบียบด้วยการเรียงลำดับตัวอักษร หรือไม่ก็โดยวิธีอื่นใดที่จะทำให้ผู้อ่านค้นหาได้สะดวกและรวดเร็ว
การทำสารานุกรมนี้ราชบัณฑิตยสถานได้เคยเริ่มดำเนินการจัดทำมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อ พ.ศ.2486 แต่ต้องหยุดชะงักลง ต่อมาใน พ.ศ.2497 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ในตำแหน่งบังคับบัญชา ราชบัณฑิตยสถาน ได้เสนอให้ราชบัณฑิตยสถานวางโครงการจัดทำสารานุกรมขึ้นใหม่
ไปหน้า » 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10
» กราบ
» กรีก
» กลอง
» กลอน
» กลันตัน
» กไลโกฏ
» กวนอู
» กวางตุ้ง
» กวางสี
» กอล
» กะเทย
» กะบังลม
» กัมพูชา
» กัปกัลป์
» กัลปนา
» กัษมีระ
» กากี
» กาฎมัณฑุ
» การบูร
» การะฝัด
» กาลามะ
» กาลิเลโอ
» กาหลิบ
» เกเบรียล
» เกาหลี
» ขงจื๊อ
» ขงเบ้ง
» การขนส่ง
» ขวัญ
» ขอม
» ขิม
» โขน
» ไข่มุก
» คชศาสตร์
» คชสีห์
» คณะสงฆ์
» คทาจอมพล
» คนธรรพ์
» ครุฑ
» ครูเทพ
» คอนกรีต
» คอปต์
» คอสแซก
» คานาดา
» คาเมอรูน
» คาโรไลน์
» คาวี
» คิวบา
» คุณหญิง
» แคน
» พระโคดม
» โคตมี
» โคตรบูร
» งิ้ว
» พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
» จัณฑาล
» จันทรคติ
» จาม
» จินดามณี
» จิ้มก้อง
» จิวยี่
» จีวร
» ฉัตร