ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม (1)
💠
ธงชาติไทย (ต้นกำเนิด-ประวัติความเป็นมา)
ธงชาติไทย สัญลักษณ์สูงสุดของชาติ
สิ่งเตือนใจให้อนุชนได้รำลึกถึงการเสียสละเลือดเนื้อของบรรพบุรุษ
เพื่อรักษาไว้ซึ่งแผ่นดิน และร้อยดวงใจคนทั้งชาติให้เป็นหนึ่ง หล่อหลอมความรัก
สามัคคี สร้างเสริมความภูมิใจในความเป็นชาติ
💠
ประวัติขนมไทย
การประกอบขนมหวานไทย มีหลายวิธีด้วยกัน
ซึ่งขึ้นอยู่กับชนิดของขนมนั้น ๆ ว่าจะประกอบด้วยวิธี การ
แบบใดให้ขนมสำเร็จออกมาแล้วน่ารับประทาน
💠
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมไทย
สังคมใดๆโลกนี้คงไม่มีสังคมใดที่หยุดนิ่งอยู่กับที่
แต่สังคมทุกสังคมย่อมมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเสมอ
ตราบใดที่สังคมนั้นยังต้องมีการติดต่อและสัมพันธ์กับสังคมอื่น
💠
ดนตรีไทย
ดนตรีไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของคนไทยที่มีประวัติความเป็นมาวิวัฒนาการ
และการสืบทอดที่ยาวนานจนกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาติ
💠
เพลงไทยสมัยต่างๆ
เพลงไทย หมายถึง เพลงที่ประพันธ์ ตามหลักของดนตรีไทย
ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ประจำชาติ
💠
ความเป็นไทย
ไทยเรามีภาษาและตัวอักษรเป็นของตนเองมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย
โดยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้ใน พ.ศ.1826
และได้มีการแก้ไขกลายเป็นภาษาไทยในที่สุด
💠
เพลงหน้าพาทย์
หน้าพาทย์ชั้นสูง ใช้บรรเลงประกอบกิริยา
อารมณ์ของตัวละครผู้สูงศักดิ์หรือเทพเจ้าต่างๆ
เป็นเพลงหน้าพาทย์ประเภทบังคับความยาว
ผู้รำจะต้องยึดทำนองและจังหวะของเพลงเป็นหลักสำคัญ
💠
บทละคร
ละครรำ เพราะเป็นการแสดงออกทางความคิด โดยมุ่งเน้นถึงลักษณะท่าทาง
อิริยาบท ในขณะเคลื่อนไหวตัว
💠
วรรณกรรมท้องถิ่น
ผลผลิตที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้านที่สร้างสรรค์ขึ้นในรูปแบบต่างๆ เช่น เพลง
นิทาน ตำนาน สุภาษิต เพื่อสร้างความบันเทิงให้สังคมในท้องถิ่น และเสนอแง่คิด
คติสอนใจในการดำเนินชีวิต
💠
การขอพระราชทานเพลิงศพ
ผู้ที่ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตั้งแต่
“เบญจมดิเรกคุณาภรณ์“ (บ.ภ.) “เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย” (บ.ม.) ขึ้นไป
💠
ประเพณีการทานสลากย้อม
ปัจจุบันการทานสลากย้อมยังมีอยู่บ้าง
แต่ไม่เป็นที่นิยม
เนื่องจากสลากย้อมเป็นสลากที่มีขนาดใหญ่และต้องใช้เวลามากในการจัดเตรียมข้าวของและจัดทำสลาก
💠
ค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ
ตามนโยบายของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
เพื่อสร้างสรรค์ประเทศไทยและสร้างคนในชาติให้เข้มแข็ง
💠
ประเพณีผีกระจาด – ผีคุ้มครองเด็ก
ประเพณีทำบุญผีกระจาด
เป็นประเพณีของครอบครัวที่นับถือผีกระจาด แม้จะแยกย้ายกันไปอยู่ที่อื่นๆ
แต่ความเชื่อถือและการนับถือผีกระจาดยังคงอยู่
💠
ประเพณีปีใหม่ชาวอาข่า (ต๊า-ท๊อง-พ้า-เออ)
“ต๊า ท๊อง พ้า เออ”
ซึ่งก็แปลออกเป็นความหมายว่า “พิธีปีใหม่” หรือประเพณีปีใหม่
💠
ประเพณีขึ้นเขาพนมรุ้ง
ชาวบ้านในเขตจังหวัดบุรีรัมย์ และใกล้เคียง
เชื่อกันว่าในชั่วชีวิตของตนต้องขึ้นเขาพนมรุ้ง
เพื่อที่ไปนมัสการสิ่งศักดิ์สิทธิ์บนเขาพนมรุ้ง
ซึ่งมีปราสาทหินเขาพนมรุ้งเป็นที่สถิตของเทพเจ้า
💠
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ที่สำคัญในจังหวัดลำพูน
ประเพณีสรงน้ำพระบรมธาตุหริภุญชัย
ประเพณีปอยหลวง
ประเพณีการฟังเทศน์มหาชาติหรือประเพณีตั้งธรรมหลวง
ประเพณีต๋านก๋วยสลาก
ประเพณีการทานสลากย้อม
ประเพณีขึ้นดอยขะม้อ
ประเพณีเลี้ยงผีขุนน้ำ (เลี้ยงผีฝาย)
💠
อังกะลุง
เหมาะกับทุกท่านที่สนใจจะเริ่มฝึกปฏิบัติอังกะลุง
หรือเหมาะสำหรับเป็นคู่มือของครูดนตรีที่จะนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง
การบรรเลงอังกะลุง
💠
อารยธรรม
อารยธรรม โดยทั่วไปอาจหมายถึงความเจริญทางวัฒนธรรม
แต่สำหรับทางด้านประวัติศาสตร์ อารยธรรม อาจหมายถึงการศึกษาความซับซ้อนของระบบสังคม
เพื่อให้เห็นถึงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆในระบบสังคมนั้นๆ
💠
เพลงพื้นบ้าน
เพลงที่แพร่หลายในแต่ละชุมชน
มีเนื้อร้องทำนองเป็นสมบัติของชุมชนโดยปัจเจกบุคคล หรือสังคมสร้างขึ้น
และสมาชิกในชุมชนยอมรับร่วมกันว่าเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นตน
💠
วันพืชมงคล
วันพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ซึ่งเป็นพระราชพิธีที่สืบทอดมาแต่โบราณ เพื่อเป็นสิริมงคลแด่พืชพันธ์ธัญญาหาร
💠
โคมประทีป - พุทธบูชา
พุ่มบนใช้กลีบกุหลาบชมพู แดง และบานบุรี
รัดด้วยซีดดอกพุด พุ่มล่างเย็บแบบตรงๆรูปพระด้วยกุหลาบเหลือง แดง
💠
"บ้าน"มรดกทางวัฒนธรรม
ทุกชีวิตเกิดมาย่อมมี "บ้าน" เป็นจุดเริ่มต้น
จากรูปทรงแห่งอดีตจนถึงปัจจุบัน "บ้าน"
เป็นหลักฐานชิ้นสำคัญยิ่งในการศึกษารูปแบบการดำเนินชีวิตของกลุ่มชนแต่ละพวก
แต่ละถิ่นฐาน
💠
ประวัติเครื่องแต่งกาย
ว่าด้วยการทำความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับการแต่ง
กายของมนุษย์และเผ่าพันธุ์โดยอาศัยหลักฐานจากประวัติศาสตร์และวรรณคดีเป็นเครื่องมือใน
การรับรู้และเข้าใจ อีกทั้ง ยังสะท้อนถึงสภาพของการดำรงชีวิตมนุษย์ในยุคนั้น ๆ
💠
รำวงมาตรฐาน
การรำวงมาตรฐานเป็นการรำที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยการดูแลของกรมศิลปากรร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์ช่วยกันจัดทาขึ้น
เพื่อให้เป็นแบบแผนในการใช้ท่ารำให้งดงามถูกต้องตามหลักนาฎศิลป์ไทย
💠
ประเพณีแข่งลูกหนูของชาวรามัญ จังหวัดนนทบุรี
ลูกหนู
เป็นประเพณีการละเล่นเก่าแก่ของชาวรามัญ ในงานฌาปนกิจศพของพระสงฆ์ชาวรามัญ
💠
ตานก๋วยสลาก
ตานก๋วยสลาก ตานสลาก กิ๋นข้าวสลาก
กิ๋นก๋วยสลากหรือกิ๋นสลาก ล้วนแล้วแต่เป็นภาษาของชาวถิ่นล้านนา
ที่มักมีการเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น
💠
ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีอันเกี่ยวเนื่องกับวันออกพรรษา ได้แก่
ประเพณีตักบาตรเทโว ซึ่งย่อมาจาก "เทโวโรหนะ" หมายถึง
การเสด็จลงมาจากเทวโลกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
💠
การเล่นคอนของไทยโซ่ง
การเล่นคอน ภาษาโซ่งเรียกว่า “อิ้นก้อน”
เป็นประเพณีของหนุ่มสาวโดยเฉพาะมีการละเล่นโยนลูกช่วงและร่ายรำตามจังหวะเพลงแคนและกลอง
💠
ประเพณีแต่งงานไททรงดำ
ชายหนุ่มหญิงสาวชาวโซ่งเมื่อมีความรักใคร่ชอบพอกันถึงขั้นจะแต่งงาน กันแล้ว
ฝ่ายชายจะส่งผู้ใหญ่ไปเจรจา เรียกว่า “โอ้โลม”บางครั้งเรียก “ไปเจ๊าะ”
💠
ประเพณีไหลเรือไฟ
ประเพณีไหลเรือไฟ บางทีเรียกว่า “ลอยเรือไฟ” หรือ
“ล่องเรือไฟ “หรือ “ปล่อยเรือไฟ” เป็น พิธีกรรมทางพุทธศาสนาที่นิยมทำกันในวันขึ้น
15 ค่ำ เดือน 11
💠
ประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟ
เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว
โดยมีตำนานมาจากนิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่
💠
ประเพณีในเกาะเกร็ด
ในเกาะเกร็ดมีคนมอญอพยพเข้ามาอาศัยอยู่มากพอสมควร
คนมอญจึงนำประเพณีและความเชื่อต่างๆมาจากเมืองมอญด้วย
ประเพณีจึงมีหลากหลายและแตกต่างไปจากประเพณีไทย
💠
ประเพณีเล่นเพลงปรบไก่ขอฝน จังหวัดเพชรบุรี
การขอฝนที่แปลกกว่าถิ่นอื่นก็คือ
การขอฝนด้วยการเล่นเพลงปรบไก่ ที่ตำบลลาดโพธิ์ อำเภอบ้านลาด จัดหวัดเพชรบุรี
💠
ประเพณีโกนผมไฟ จังหวัดราชบุรี
“ผมไฟ”
คือผมของเด็กแรกเกิดที่มาตั้งแต่อยู่ในท้องแม่ เหตุที่เรียกว่า “ผมไฟ”
เนื่องจากในสมัยก่อนตามชนบทมีแต่หมอตำแยตามหมู่บ้านเป็นหมอผู้ทำคลอด
เมื่อคลอดออกมาแม่ต้องอยู่บนแคร่ข้างเตาไฟเรียกว่า “อยู่ไฟ”
💠
ประเพณีพระแข จังหวัดสุพรรณบุรี
ประเพณีนี้ถือ ปฏิบัติกันมาช้านาน
เข้าใจว่าชาวจังหวัดสุพรรณบุรีคงจะได้รับคตินิยมแบบนี้มาจากกัมพูชา
💠
ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมสำคัญในจังหวัดลำพูน
พระบรมธาตุหริภุญชัย
เป็นปูชนียสถานอันสำคัญยิ่งของจังหวัดลำพูน เป็นจอมเจดีย์องค์หนึ่งในจำนวน 8
แห่งของประเทศไทย
เป็นเจดีย์ที่เก่าแก่ที่สร้างในสมัยพระเจ้าอาทิตยราชพระบรมธาตุหริภุญชัยเป็นศูนย์รวมความศรัทธาของประชาชนโดยทั่วไป
💠
รำโทน
รำโทนเป็นการแสดงพื้นบ้านที่ยังมีการแสดงอยู่ในจังหวัดลพบุรี
เริ่มมีการแสดงตั้งแต่เมื่อไรไม่ทราบแน่ชัด
แต่มีการแสดงแพร่หลายทั่วไปที่จังหวัดลพบุรีในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม
💠
ประวัติมโนราห์
ประวัติมโนราห์ (เล่าจาก อาจารย์เจิม เศรษฐ์ณรงค์)
💠
ประวัติศาสตร์ของหมวก
หมวก ลักษณะเป็นคำนาม หมายถึง
เครื่องสวมศีรษะมีรูปต่าง ๆ เพื่อเป็นเครื่องประดับหรือกันแดดกันฝน
💠
หนังตะลุง
หนังตะลุงเป็นศิลปการแสดงอย่างหนึ่งของชาวปักษ์ใต้
มีทั้งบทพากย์และบทเจรจา ส่วนมากใช้กลอนตลาด
เดิมทีเดียวเล่นเรื่องรามเกียรติ์เป็นพื้น
💠
วันกองทัพไทย
สาเหตุที่กำหนดให้ วันที่ 25 มกราคม ของทุกปี
เป็นวันกองทัพไทยนั้น เนื่องจากเป็นวันที่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
จอมทัพไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อ
สมเด็จพระมหาอุปราชาแห่งพม่า
💠
แบบธรรมเนียม ประเพณีไทย
มารยาทในอริยาบทต่าง ๆ ตามแบบวัฒนธรรมไทย
มีแบบเฉพาะที่พึงปฏิบัติทั้งในเวลาศาสนพิธีและพิธีอื่น
💠
เพลงไทย
เพลงไทยมีเนื้อหาที่เป็นสารประโยชน์มากมาย
ไม่ว่าจะเป็นการชมธรรมชาติที่งดงามให้คติชีวิต แสดงความรักห่วงหาอาวรณ์
💠
ประเพณีลอยกระทงสาย
ประเพณีลอยกระทงสาย
เป็นประเพณีเฉพาะท้องถิ่นของชาวจังหวัดตาก
ซึ่งโดยทั่วไปการลอยกระทงไม่ว่าจะเป็นที่ใดก็จะมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน