ปรัชญา อภิปรัชญา ญาณวิทยา จิตวิทยา ตรรกศาสตร์ (2)

» ย้อนกลับ หน้าถัดไป


💠 สุนทรียศาสตร์จีน
จีนเป็นประเทศที่มีขนบจารีตอันหลากหลายและเก่าแก่โบราณในเรื่องสุนทรียศาสตร์ ช่วงต้นของประเพณีวัฒนธรรม ศิลปะเป็นเรื่องซึ่งสัมพันธ์กับอภิปรัชญา(เมติฟิสิกส์) ปรัชญาสังคม และการเมือง

💠 ปรัชญาตะวันตก
โสคราเต็ส (Socrates 477-399กคศ.) มีความคิดว่า  ความจริงและความดี จะต้องมีมาตรการตายตัวสำหรับทุกคน จิตของมนุษย์มีสมรรถภาพจะรู้ความจริงและความดีมาตรฐานนั้นได้

💠 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม
ความคิดของมนุษย์โดยมนุษย์และเพื่อมนุษย์ ความคิดที่มนุษย์ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นมา จะกระทำโดยคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ กรณีที่คิดคนเดียวก็ต้องเป็นที่ยอมรับของผู้อื่นด้วย แม้ไม่ยอมรับทั้งหมดก็อาจยอมรับเพียงบางส่วน

💠 ปรัชญาสู่ความยิ่งใหญ่
การดำรงชีวิตของคนเรานั้น มีคนกล่าวว่า “ เป็นไปตามกรรมนั้น ” ย่อมหมายถึงการกระทำของคนเรา นั้นเอง

💠 ปรัชญา
ปรัชญา  แสดงให้เห็นถึงความพยายามของมนุษย์ในการกำหนดความหมายและทิศทางของชีวิต(Neff’s Philosophy and American Education)

💠 ซิมโปเซียม
ซิมโปเซียม เป็นเรื่องราวปรัชญาแห่งความรักที่เกิดขึ้นในสมัยที่สามของเพลโต้เป็นสมัยที่มีงานเขียนปรัชญาชั้นสมบูรณ์แบบ

💠 ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาอินเดียมุ่งแสวงหาความจริงเกี่ยวกับโลกและชีวิตเช่นเดียวกับปรัชญาตะวันตกแต่มีข้อแตกต่างที่สำคัญคือ  ปรัชญาตะวันตกมุ่งแสวงหาความจริงหรือข้อเท็จจริงเพียงอย่างเดียว

💠 ปรัชญาเปรียบเทียบ
ปรัชญาตะวันตก  เป็นการประติดประต่อความคิดของนักคิดหลายคนเข้าด้วยกัน โดยที่ความจริงแล้วความคิดเหล่านั้นไม่น่าจะสัมพันธ์ซึ่งกันและกันเลย

💠 ปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน หมายถึง ความรู้ซึ่งเป็นผลสัมฤทธิ์ของการคิดไตร่ตรองตามหลักเหตุผล และเป็นอุปกรณ์หรือมรรควิธีที่จะนำมาปฏิบัติ

💠 สุนทรียศาสตร์
สุนทรียศาสตร์ เป็นสาขาของปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ในเรื่องความงาม ตลอดรวมถึงความน่าเกลียด ในภาษาฝรั่งเรียกว่าเป็นคุณค่าในเชิงนิเสธ(negative value)

💠 วาทะคานธี
การมองเห็นสุขเป็นสุขนั้นแหละทุกข์ ความสุขที่แท้จริงเกิดจากความทุกข์ ตัวเราเองเป็นต้นเหตุแห่งความสุขและความทุกข์ของเราเอง

💠 ความจริง
ปัญหาแรกสำหรับนักปรัชญาคือการตัดสินใจว่าสิ่งประเภทไหนจริงหรือเท็จ หรือที่เรียกว่า truth-bearers

💠 สันติภาพ
สำหรับข้าพเจ้าแล้ว ความรักชาติมีความหมายเช่นเดียวกับความมีมนุษยธรรม ข้าพเจ้ามีความรักชาติเพราะข้าพเจ้าเป็นมนุษย์และมีความเป็นมนุษย์

💠 ปรัชญา
มนุษย์อาจมีร่างกายเล็กกว่าหรือมีพลังน้อยกว่าสัตว์ใหญ่ เช่นช้าง แต่มนุษย์ก็เป็นสิ่งมีชีวิตที่คิดเห็น

💠 ตำราพิชัยสงคราม ซุนวู
ตำราพิชัยสงครามซุนวู เรียกกันอีกอย่างว่า The Art of War และมีการนำมาปรับใช้กับการบริหารธุรกิจ โดยตำราพิชัยสงครามซุนวูแบ่งออกเป็นทั้งหมด 13 บท

💠 โสคราตีส
โสคราตีสเป็นชายหนุ่ม ชีวิตวัยหนุ่มของโสคราตีส เราไม่รู้จัก เอกสารชิ้นแรกสุดที่ พูดถึงเขาคือ (บทละครเรื่อง) หมู่เมฆ ของอริสโตฟาเน็ส

💠 ปรัชญาสัจจนิยม
ศตวรรษที่ 19 ปรัชญาจิตนิยมครอบคลุมปรัชญาตะวันตกเกือบทั้งหมดพอเริ่มศตวรรษที่ 20 ได้มีปฏิกิริยาคัดค้านขึ้นในอังกฤษ

💠 ปรัชญาการเมือง
อำนาจปกครองของสันตะปาปาหรือ auctoritas หรือการใช้อำนาจในลักษณของตัวแทนของกษัตริย์ potestas ย่อมมีความชอบธรรมและยุติธรรม

💠 สุนทรียศาสตร์ญี่ปุ่น
สุนทรียศาสตร์ญี่ปุ่นมีลักษณะเฉพาะพิเศษในท่ามกลางขนบจารีตต่างๆ ที่ไม่ใช่ตะวันตก ในระดับที่ได้ถูกซึมซ่านสู่ความรับรู้ในระดับสากล

💠 สุนทรียศาสตร์อินเดีย
ศิลปกรรมของอินเดียวิวัฒน์ขึ้นมาจากฐานทางด้านปรัชญาและจิตวิญญาน โดยเฉพาะของบรรดาผู้เสพ ศิลปะอินเดียได้รับการสรรค์สร้างขึ้นมาในเชิงสัญลักษณ์. ตามทัศน์ของ Kapila Vatsyayan

💠 จริยธรรม
การประมวลความหมายของจริยธรรม ความจำเป็นของการมีจริยธรรมของนักการเมือง จริยธรรม ตามแนวคิดตะวันออก จริยธรรมตามแนวคิดตะวันตก

💠 จริยธรรมของขงจื่อ
ขงจื่อเป็นนักปราชญ์ที่สำคัญที่สุดคนหนึ่งของจีน ท่านเป็นผู้ตีความคำสอนเกี่ยวกับจารีต ประเพณี วัฒนธรรมให้มีความหมายในทางจริยธรรมมากยิ่งขึ้น

💠 จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วงเหลือส่งเสริม ให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า

💠 ปรัชญาการทำงาน และการดำเนินชีวิต
รู้น้อยไม่เกี่ยงงาน คนเราหากมีความรู้น้อยต้องไม่ท้อถอย หรือ เลือกงาน เพราะการทำงานคือหนทางเพิ่มความรู้และประสบการณ์

💠 ปรัชญาความงาม
ในผลงานภาพเขียน The School of Athens, จิตรกรรมเฟรสโกโดย Raphael แสดงภาพของ Plato และ Aristotle ยืนเคียงข้างกัน สำหรับ Plato ชี้นิ้วขึ้นไปบนสวรรค์สู่โลกของแบบอุดมคติ

💠 คัมภีร์คอมมิวนิสต์
แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ ถือได้ว่าเป็นคำประกาศนโยบายขององค์กร “สันนิบาตคอมมิวนิสต์” ที่ คาร์ล มาร์คซ์ และ เฟรเดอริค เองเกิลส์ เขียนขึ้นในปี 1848

💠 ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ( Constructivist theory) เป็นทฤษฎีที่ว่าด้วยการสร้างความรู้ มีพัฒนาการมาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม (pragmatism) ที่นำโดย (james) และดิวอี้ (Dewey)

💠 นิยามและสาขาของปรัชญา
Pythagorus เป็นคนแรกที่ใช้ศัพท์ Philosophy มีคนเรียก พิธาโกรัสว่า คนมีปัญญา แต่เขาปฏิเสธ โดยกล่าวว่า “ ปัญญา ” เป็นของพระเจ้า ส่วนมนุษย์เป็นได้แค่รักในปัญญาเท่านั้น

💠 การพัฒนาความเป็นมนุษย์ ด้วยประสาทสุนทรียศาสตร์และ DICECS Cycle
เหตุการณ์หลายๆ อย่างที่ได้เกิดขึ้นแล้วในสังคมไทย กำลังบอกเล่าอะไรให้เราได้รับทราบ

💠 จริยธรรมในสังคมไทย
ความจริงจริยธรรมของชนต่าง ๆ ในโลกที่แบ่งกันออกเป็นชาติหรือสังคมนั้น ๆ ก็ขึ้นอยู่กับศาสนาที่ชนเหล่านั้นนับถือ

💠 ทฤษฎีแห่งการสร้างสรรค์ด้วยปัญญา
การแสดงความคิดและผลงานของตนเองให้คนอื่นๆ รับทราบและร่วมพิจารณาให้ข้อเสนอแนะนั้น เป็นการส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน

» ย้อนกลับ หน้าถัดไป


แชร์ไปที่ไหนดี แชร์ให้เพื่อนสิ แชร์ให้เพื่อนได้ แชร์ให้เพื่อนเลย