ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ นิกาย พิธีกรรม >>
หอพระไตร
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เป็นวาระสุดท้ายแห่งเราแล้ว เราขอเตือนเธอทั้งหลายให้จำมั่นไว้ว่าสิ่งทั้งปวงมีความเสื่อมและสิ้นไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด
หลักธรรม : ศีล สมาธิ ปัญญา ไตรลักษณ์ อริยมรรค 8 ทิศ 6 สัปปุริสธรรม เบญจศีลเบญจธรรม เบญจขันธ์ มงคล 38 มหาบุรุษ 80 อริยวัฑฒิ 5 อริยสัจ 4 สังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 อิทธิบาท 4 โลกธรรม 8 กถาวัตถุ 10 บารมี 10 นวังคสัตถุศาสน์ 9 สัมมัปปธาน 4 พละ 5 อินทรีย์ 5 จักรวรรดิวัตร 12 โพชฌงค์ 7 นิวรณ์ 5 อสุภ 10 อนุสสติ 10 นิโรธ 5 สมถะ 3 ปัญญา 3 ทศพิธราชธรรม 10 มโนสุจริต 3 กสิณ 10 สังโยชน์ 10 ฆราวาสธรรม 4 ธาตุ ธรรมธาตุ 7 สัปปุริสธรรม 7 วิสุทธิ 7 จริต 6 ผัสสะ 6 กรรมฐาน 40 อาหารเรปฏิกูลสัญญา อรูป 4 อบายมุข ฌาน 8 บุญกิริยาวัตถุ อนันตริยกรรม ไตรทวาร ไตรสิกขา
พระไตรปิฎก (ฉบับประชาน) : : พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก พระสูตร
พุทธชยันตี
2600 ปี พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ธรรม
คำว่า สัมพุทธชยันตี หรือ พุทธชยันตี สันนิษฐานว่าเริ่มจัดขึ้นครั้งแรกในช่วงก่อนปี
พ.ศ. 2500 ในประเทศศรีลังกาและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง โดยดำริของ ฯพณฯ อู ถั่น
ชาวพุทธพม่า ในสมัยที่ท่านดำรงตำแหน่งเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ
ท่านได้ดำริให้ชาวพุทธทั่วโลกร่วมกันบูรณะลุมพินีวัน ที่ตั้งอยู่ในประเทศเนปาล
ให้เป็นพุทธอุทยานประวัติศาสตร์ของโลก โดยเรียกว่า การฉลองพุทธชยันตี 25 พุทธศตวรรษ
(2500th Buddha Jayanti Celebration)
จากพระธรรมวินัย
สู่พระไตรปิฎก
ธรรม ที่เรากล่าวไว้ดีแล้ว
ท่านทั้งหลายจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบ
การสังคายนาพระไตรปิฎก
มาเถอะเพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย เราจะสังคายนาพระธรรมวินัยกัน มิฉะนั้น
ในภายหน้าอธรรมจะรุ่งเรือง ธรรมจะถูกต่อต้านสิ่งที่มิใช่วินัยจักรุ่งเรือง
พระวินัยจะถูกต่อต้าน ในภายภาคหน้าคนที่กล่าวอธรรม จะมีกำลังกล้า
คนที่กล่าวธรรมจักด้อยกำลัง คนที่กล่าวนอกพระวินัย จะมีกำลัง
คนที่กล่าวพระวินัยจะด้อยกำลัง
การเป็นมนุษย์ คนหนึ่งนั้นหมายความว่า มันต้องได้สิ่งที่ดีที่สุดที่มนุษย์ควรจะได้รับ ถ้าไม่ได้รับสิ่งนี้ มันก็เสียชาติเกิดเพราะว่ามันจะต้องได้เต็มที่ ตามที่มนุษย์อาจจะรับได้ ฉะนั้นจึงเกิดเป็นหน้าที่อีกชั้นหนึ่งว่า เราต้องทำให้ได้รับผลประโยชน์ของความเป็นมนุษย์ให้ถึงที่สุด ธรรมะของพุทธทาสภิกขุ คลิกอ่านต่อ
คนที่สวดมนต์ดีกว่าไม่สวด คนที่เข้าใจความหมายของมนต์ดีกว่าคนสวดมนต์ แต่คนที่สามารถปฏิบัติตามมนต์ได้ย่อมดีกว่าคนที่เข้าใจความหมายแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น พระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิงได้ประทานโศลกอันกล่าวถึง "นิรรูป" เพื่อให้ท่องบ่นกันทั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตควรปฏิบัติตามคำสอนซึ่งมีอยู่ในโศลกนี้ ถ้าไม่มีการปฏิบัติแล้วก็ไม่เกิดประโยชน์อะไร แม้จดจำถ้อยคำของท่านได้ก็เสียเปล่าพระสูตรของท่านเว่ยหล่าง คลิกอ่านต่อ
พุทธศาสนสุภาษิต คือ สุภาษิต ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำรัสไว้ ซึ่งมีคุณค่าสูงส่ง สามารถใช้ได้ทั้งเป็นแนวทางดำเนินชีวิต เตือนใจ หาคำตอบที่ดีสำหรับปัญหาที่สงสัย หรือ แม้แต่เตือน สติ ให้เรา หู ตา สว่าง เกิดปัญญาเข้าใจ ได้อุบายที่ดีในการดำเนินชีวิต การแก้ปัญหาและพ้นจากเครื่องเศร้าหมองได้พุทธศาสนสุภาษิต คลิกอ่าน
หลักในการแสดงธรรม
4 วิธี
มีพยานยืนยันการตรัสรู้ของพระองค์เป็นอันมาก
และคนที่มายอมตนเป็นสาวกของพระพุทธเจ้าในยุคแรก ล้วนเป็นคนชั้นนำในสังคมทั้งนั้นคือ
คณาจารย์นักบวช พระราชา เศรษฐี ขุนนางอำมาตย์ ข้าราชการผู้ใหญ่
ชาติหน้ามีจริงหรือ
การตายแล้วเกิดนั้น ไม่ใช่ว่าพอร่างกายนี้แตกดับลง
จิตดวงเดิมก็ออกจากร่างไปเกิดใหม่ เพราะจิตเองก็ตายและเกิดอยู่แล้วตลอดเวลา
พุทธประวัติ ฉบับสำหรับยุวชน
พุทธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรียงจาก ฉบับภาษาอังกฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc
kechnie)
มิลินทปัญหา (ฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย)
มิลินปัญหา เป็นปกรณ์มีมาเก่าแก่และสำคัญปกรณ์หนึ่งในพระพุทธศาสนา
ไม่ปรากฏว่าท่านผู้ใดเป็นผู้รจนา เชื่อกันว่ารจนาขึ้นในราวพุทธศักราช 500
อยู่กันด้วยความรัก (ปัญญานันทภิกขุ)
เราอย่าไปโกรธเขา เราอย่าไปเกลียดเขา ให้นึกถึงอกเขาอกเราว่า
เราต้องการความสุขอย่างใด เขาก็ต้องการความสุขอย่างนั้น เราเกลียดความทุกข์อย่างใด
เขาก็เกลียดความทุกข์อย่างนั้น สิ่งใดเราไม่ชอบ สิ่งนั้นเขาก็ไม่ชอบเหมือนกัน
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญา นั้นไม่มี ผู้ตั้งใจศึกษา
ย่อมได้ปัญญาเปรียบเสมือนเครื่องประดับแห่งตน
ธรรมบรรยายของ
หลวงพ่อปัญญา
ความจริงชาวโลกเราทั่วๆ ไปนั้น ได้ปฎิญาณตนตนว่าเป็นคริสต์
ปฏิญาณตนว่าเป็นอิสลาม ปฎิญาณตนว่าเป็นฮินดู พวกเราก็ปฎิญาณตนว่าเป็นพุทธบริษัท
การปฎิญาณตนว่าเป็ผู้นับถือศาสนานั้น ถ้ามองดูกันให้ซึ้งอย่างแท้จริงแล้ว
ก็จะพบความจริงว่ายังไม่สมกับคำปฎิญาณที่ได้กล่าวไว้
คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
สมเด็จพระญาณสังวร
สามัญชนทุกคนมีโทสะ มีเรื่องที่ทำให้เกิดโทสะกันเป็นประจำ
ถ้าต้องการแก้ไขก็จะทำให้สำเร็จด้วยการตอบโต้ฝ่ายเข้าข้างโทสะอย่างไม่ยอมเป็นฝ่ายแพ้
ต้องให้ฝ่ายเข้าข้างโทสะแพ้ให้ได้ โทสะจึงจะดับอย่างไม่กลับเกิดขึ้นอีกเลย
คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
หลวงพ่อทูล ขิปฺปปญฺโญ
วัฏจักร
เป็นสถานที่ท่องเที่ยวพักแรมของจิตวิญญาณไม่มีกาลสมัย เมื่อใด ใจยังมีตัณหาคือ
ความอยาก เมื่อนั้นจิตวิญญาณยังต้องการอยู่ในสามภพนี้ตลอดไป
มีทั้งสมหวังและผิดหวังมีทั้งสุขและทุกข์
คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
พระอาจารย์ชา สุภัทโท
การที่เราอยู่ร่วมกันรี้จะต้องมีระเบียบ
ระเบียบเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับคนหมู่มาก ไม่ใช่จำเป็นเฉพาะบุคคลเท่านั้น
อยู่คนเดียวก็ต้องมีระเบียบอย่างพระวินัย คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
หลวงปู่ฝั้น อาจาโร
การสำเร็จมรรคสำเร็จผล ไม่ได้สำเร็จที่อื่นที่ไกล
สำเร็จที่ดวงใจของเรา คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ท่านวางไว้ถึง 84,000 พระธรรมขันธ์
ท่านก็ไม่ได้วางไว้ที่อื่น วางที่กาย ที่ใจของเรานี้เอง
คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
พระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต
ท่านเปรียบเหมือนต้นไม้ต่าง ๆ มีต้นข้าว เป็นต้น
เมื่อบำรุงรักษาต้นมันให้ดีแล้ว ผลคือรวงข้าว ไม่ใช่สิ่งอันบุคคลพึงปรารถนาเอาเลย
เป็นขึ้นมาเอง ถ้าแลบุคคลมาปรารถนาแต่รวงข้าว แต่หาได้รักษาต้นข้าวไม่
เป็นผู้เกียจคร้านจะปรารถนาจนวันตาย รวงข้าวก็จะไม่มีขึ้นมาให้เลยฉันใด
วิมุตติธรรมก็ฉันนั้น คลิกอ่านทั้งหมด
ธรรมบรรยายของ
หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร
ทางพระสอนให้ละชั่วทำความดี
แต่ก็ไม่ให้ติดอยู่ในความดี
ให้บำเพ็ญจิตให้ยิ่งขึ้นจนถึงไม่ติดดีติดชั่วจึงจะพ้นจากโลกนี้ไปได้
เพราะแม้คุณความดีจะส่งผลให้เป็นสุขไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ เป็นเทพ อินทร์ พรหม
ก็ตาม แต่เมื่อกำลังของกุศลกรรมความดีนั้นๆ หมดลง ก็ย่อมต้อง
กลับมาเวียนว่ายตายเกิดอีก คลิกอ่านทั้งหมด
หลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ
ฟ้าได้ส่งให้หลวงพ่อมาจุติในโลกมนุษย์เพื่อยังความร่มเย็นเป็นสุขให้แก่พุทธศาสนิกชนคู่วัดหนองโพ
และจังหวัดนครสวรรค์ เมื่อท่านถือกำเนิดมาเป็นลูกผู้ชายของตระกูล
ย่อมเป็นที่ยินดีปรีดาของโยมบิดามารดา เป็นที่ยิ่ง จึงขนานนามท่านว่า เดิม
วิถีสันติภาพของโลกแนวพุทธ
ความสงบสุขทางจิตใจนั้น
เป็นเรื่องที่คนทั่วไปสามารถสัมผัสได้เมื่อมีความรู้และความสามารถในการบริหารจิตใจแนวพุทธ
ซึ่งเป็นเรื่องไม่ยากเลย ที่รู้สึกว่ายากเพราะศึกษาและฝึกปฏิบัติธรรมไม่ตรงประเด็น
วิธีสร้างบุญบารมี (สมเด็จพระญาณสังวร ฯ)
บุญ คือเครื่องชำระสันดาน ความดี กุศล ความสุข ความประพฑติชอบทางกาย วาจา และใจ
กุศลธรรม บารมี คือคุณความดีที่บำเพ็ญอย่างยิ่งยวด เพื่อบรรลุจุดหมายอันสูงยิ่ง
บทสวดมนต์ต่างๆ
เมื่อผู้มีปัญญามาระลึกถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ก็ควรประกอบความเชื่อและศีลและความเลื่อมใส ความเห็นธรรมไว้เนื่อง ๆ
อานาปานสติ
พระพุทธคุณ
กรรมฐาน
2
โพชฌงค์
วิมุตติจิต
อาหารของถีนมิทธะ
ทุกขสัจ-ทุกขทุกข์
โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ชุมนุมคาถา หลักสูตรพุทธศาสนา พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ คู่มือทำวัตรกรรมฐาน นวโกวาท (ฉบับประชาชน) โอวาทสี่ของเหลี่ยวฝาน พระโอวาทของท่านอรหันต์จี้กง